เอามายั่วก่อน....พรุ่งนี้เปิดแล้วววว...
เขียนโดย kkc.38 Authenticated user เมื่อ 31 ตุลาคม 2553
1 พฤศจิกายน อุทยานฯ ทั่วประเทศก็ได้เวลาเปิดให้ผู้คนเข้าไปท่องเที่ยวกันแล้ว เราโชคดีหน่อยที่ตลอดสามเดือนได้เข้าไปทำงานในป่า เลยเจออะไรได้ง่าย เพราะไม่มีคนเข้าไปรบกวนพวกเขา ลองดูละกัน
ผ่านโป่งพรม เห็นเขาหมอบอยู่ข้างบ่อน้ำขัง
ผ่านโป่งพรม เห็นเขาหมอบอยู่ข้างบ่อน้ำขัง
Comments
ความเห็นที่ 1
ความเห็นที่ 1.1
โอ้ว เจ้าตัวนี้แถบขาวด้วย แถวบ้านผมแถบแดงแฮะ
ความเห็นที่ 2
ความเห็นที่ 2.1
ความเห็นที่ 3
ความเห็นที่ 4
ความเห็นที่ 4.1
#2 Lyssa zampa ผีเสื้อค้างคาว
#5 Stratioceros princeps ด้วงหนวดยาวขอบขาว
รอผู้รู้จริงมายืนยันอีกทีครับ.
ความเห็นที่ 5
ความเห็นที่ 5.1
ความเห็นที่ 6
ตัวที่เหลือไม่ทราบครับ ดูจากลักษณะหัวแล้ว ผมว่ามันน่าจะเป็นคนละชนิดนะครับ
ความเห็นที่ 6.1
ตัวที่ 2, 4 จิ้งจกบ้านหางหนาม
ตัวที่ 3 จิ้งจกบ้านหางแบน
ความเห็นที่ 6.1.1
ความเห็นที่ 6.1.1.1
ความเห็นที่ 7
เจ้าหน้าที่พบว่ามันมั่วกันอยู่ในห้องน้ำ จะตีมันเพราะคิดว่ามีพิษ พวกผมเลยอาสาจับไปปล่อย
คาดว่าเป็น กาบหมากดำ ตัวใหญ่คิดว่าเป็นตัวเมียใช่ไหมครับ
ความเห็นที่ 8
เอ๊ะ !! อะไรแว๊บๆ
ความเห็นที่ 8.1
ความเห็นที่ 9
ตัวแรก ตลอดอาทิตย์ มันขยับเปลี่ยนที่ไม่เกินเมตร เฝ้ารอเหยื่อรึเปล่าครับ
ตัวสอง งูเขียวปากแหนบ ตัวนี้ทำไมสีมันนวลจังครับ
ความเห็นที่ 10
ความเห็นที่ 10.1
ความเห็นที่ 10.1.1
มะ มา ได้ไง... ถ้าเพิ่งถ่ายวันที่ 1 พ.ย. 53 จะงง มาก เพราะว่าเจ้าตัวนี้จะออกดอกช่วงเดือนพฤษภาคม ค่ะ
ชื่อชนิดไม่ชัวร์ เพราะหนังสือกะ paper อยู่หอก๊าบ
ความเห็นที่ 10.1.1.1
ยังมีอีกหลายอย่างที่ออกไม่ตรงกับเอกสาร เช่นกล้วยไม้ที่สำรวจ เป็นต้น
ความเห็นที่ 11
งามงด งดงาม
ความเห็นที่ 12
โห สุดยอดเลยครับ สรรพชีวิตแห่งป่าแก่งกระจาน กาบหมากหางนิลในห้องน้ำ....สุดยอดครับ
ความเห็นที่ 13
R_W-9 Trimeresurus (Cryptelytrops) albolabris เขียวหางไหม้ท้องเหลือง ตัวผู้
R_W-24 Gehyla mutilata จิ้งจกหินสีจาง นั่นแหละครับ
R_W-25,27 Hemidactylus frenatus จิ้งจกหางหนาม
R_W-26 Hemidactylus garnotii จิ้งจกหางเรียบ หรือจิ้งจกแม่หม้าย
R_W-15 Trimeresurus (Popeia) popeiorum เขียวหางไหม้ท้องเขียว ตัวผู้
R_W-6 Ahaetulla prasina เขียวปากจิ้งจก
ส่วนกาบหมากหางนิลคู่นี้น่าสนใจตรงที่ว่าที่แก่งกระจานน่าจะเป็นชนิดย่อย Othriophis taeniurus helfenbergeri แต่ไอ่คู่นี้ดันดูภาพรวมคล้าย O. t. ridleyi ซะงั้น ประชากรแถบนี้ค่อนข้างทำให้ผมมึนพอสมควร ผมเลยขอไม่ฟันธงจากการแพร่กระจาย ถ้ามีรูปตอนมันขู่จะช่วยได้มากเลยครับ
ความเห็นที่ 13.1
ความเห็นที่ 13.1.1
ความเห็นที่ 13.1.1.1
ความเห็นที่ 14
ความเห็นที่ 14.1
ความเห็นที่ 14.1.1
ความเห็นที่ 14.1.1.1
" อะไรก็เกิดขึ้นได้ ที่แก่งกระจาน " เมื่อคราวพบนกกะลิงเขียดหางหนาม (2537)
คงเป็นเพราะที่ตั้งของพื้นที่มั้งครับ เลยเป็นศูนย์กลางของเหนือและใต้ ติดกับพม่าอีกต่างหาก
ความเห็นที่ 15
ความเห็นที่ 16
ความเห็นที่ 17
ความเห็นที่ 18
ขอภาพบางส่วนไปทำ Species Index ได้ไหมครับ?
ความเห็นที่ 18.1
ความเห็นที่ 19
ความเห็นที่ 19.1
ความเห็นที่ 20
ความเห็นที่ 20.1
ความเห็นที่ 20.1.1
ความเห็นที่ 20.2
พี่นณณ์ครับ ฝากดู Pyrops oculata ด้วยครับ มีรายงานแบบไม่เป็นทางการว่าพบที่แก่งกระจานเมื่อเร็วๆนี้
ความเห็นที่ 20.2.1
ความเห็นที่ 20.2.1.1
ความเห็นที่ 21
ความเห็นที่ 21.1
เท่าที่ผมจำได้ ผมมีรูปจั๊กจั่นงวงประมาณ 4 ลาย แต่คอมฯเดิมมันเจ๊ง ไม่รู้จะกู้ได้หรือเปล่างานในนั้นเพียบเลยครับ หากมีอะไรเพิ่มเติม ยินดีเสมอครับ (ถ้าไม่ได้อยู่ในป่า)