สวยสุด ๆ ยังไม่เคยเห็นเลย ได้ข่าวว่าเขาน้ำค้างมีมากมาย ขุนไปดูดิ
เอารูปมาเพิ่มให้ใน Species Index ครับเป็น digital แล้ว..เพื่อนในfb คงเห็นกันบ้างแล้ว..อีเห็นเครือหรืออีเห็นหน้านวล Masked Plam Civet ครับ
ภาพของเพื่อนรุ่นพี่ครับ..ยินดีเผยแพร่ครับ
แก่งกระจานครับ
Comments
ความเห็นที่ 1
ความเห็นที่ 2
ภาพแรก ผีเสื้อดุ๊กเขียว?????
ภาพสอง ผีเสื้อนางพญาพม่า
ธงจะหักไหมหนออ...?
ความเห็นที่ 3
ส่วนกบข้างล่าง เดาว่ากบหลังจุดครับ
ความเห็นที่ 4
ความเห็นที่ 5
เพราะที่เคยเห็น (ภาพ) มันจะอยู่บนพื้นนะครับ
ความเห็นที่ 6
ว่าแต่ "สแกนสไลด์ด้วย ตู้ปลา และ microsoft word" มันอะไรยังไง
ความเห็นที่ 7
ความเห็นที่ 7.1
ความเห็นที่ 8
1. จ้างเค้าสแกนแพงมากและไม่ถูกใจ
2. ไม่อยากซื้อสแกนเนอร์มาใช้
3. หาซื้อโต๊ะไฟดูสไลด์ไม่ได้
เดี๋ยวคืนนี้ทำบทความสอนวิธีการ อิ อิ
ความเห็นที่ 9
สวยสุด ๆ ยังไม่เคยเห็นเลย ได้ข่าวว่าเขาน้ำค้างมีมากมาย ขุนไปดูดิ
ความเห็นที่ 10
ความเห็นที่ 10.1
ความเห็นที่ 11
ความเห็นที่ 12
ความเห็นที่ 12.1
ความเห็นที่ 13
ความเห็นที่ 14
เมื่อไรจะได้ไปเยือนสักทีเรา - -*
ความเห็นที่ 15
ความเห็นที่ 16
ส่วนกบหลังจุด Pulchrana signata นั้น ผมคิดว่ามันคงไต่ตามยอดไม้เตี้ยๆ ริมลำธาร ได้ด้วยละครับ อันเป็นนิสัยของกบในสกุลนี้อยู่แล้วครับผม
ความเห็นที่ 17
เพศเมีย มีจุดสีเหลือง กระจายตามตัว และตัวออกสีเขียวตองเหลืองครับผม
ส่วนตัวผู็ สีน้ำตาลอ่อน หรือ เข้ม
ความเห็นที่ 18
เอารูปมาเพิ่มให้ใน Species Index ครับเป็น digital แล้ว..เพื่อนในfb คงเห็นกันบ้างแล้ว..อีเห็นเครือหรืออีเห็นหน้านวล Masked Plam Civet ครับ
ความเห็นที่ 19
ความเห็นที่ 20
ความเห็นที่ 21
ความเห็นที่ 22
ภาพของเพื่อนรุ่นพี่ครับ..ยินดีเผยแพร่ครับ
ความเห็นที่ 22.1
ความเห็นที่ 22.1.1
แก่งกระจานครับ
ความเห็นที่ 22.2
ความเห็นที่ 23
ความเห็นที่ 24
ความเห็นที่ 25
ความเห็นที่ 26
ความเห็นที่ 26.1
ความเห็นที่ 27
ความเห็นที่ 27.1
ความเห็นที่ 28
22. ลิ้นห้อยเลยอ่ะ...
ความเห็นที่ 28.1
ความเห็นที่ 29
ความเห็นที่ 30
สีจาสีส้มเหลือง หรือ เทา ดูจากหัวอาจคล้ายกับ ท้องเขียวถิ่นใต้ แต่ ท้องเขียวถิ่นใต้ เกล็ดข้างแก้มเป็นสันเห็ฯชัดเจนเรียงกันไป
ขาดอะไร หรือ ผิด รบกวนชี้แนะ เพิ่มเติมด้วยครับพี่
ความเห็นที่ 31
ลักษณะจำแนกของงูตัวนี้จากภาพ
1. การแยกกันโดยสิ้นเชิงของเกล็ดริมฝีปากบนชิ้นแรก (first supralabial) กับเกล็ดจมูก (narsal) ทำให้เหลืองูเขียวหางไหม้ที่จะพิจารณา 2 กลุ่ม คือ กลุ่มหางไหม้ท้องเขียว (subgenus Popeia) กับกลุ่มเขียวไผ่ (subgenus Viridovipera)
2. ตามีขนาดเล็ก (สำหรับตัวเมีย ก็คือตัวนี้แหละ) ไอ่ที่เรียกว่าเล็กก็ดูจากสัดส่วนตาเทียบกับระยะห่างระหว่างขอบตาล่างถึงริมฝีปากบนของมันเอง (Occular-subpralabial interspace) จากภาพก็เห็นว่าเส้นผ่านศูนย์กลาง(แนวดิ่ง)ของตาก็ได้แค่ประมาณครึ่งนึงของระยะถึงริมฝีปากเท่านั้น ดังนั้นจึงเทใจให้กลุ่มเขียวไผ่ เพศเมีย มาเต็ม
3. ลักษณะเฉพาะที่ความจริงดูแค่จุดนี้ก็ใช้ได้สำหรับกลุ่มเขียวหางไหม้เมืองไทย (และยังไม่เจอในเขียวหางไหม้ชนิดอื่นๆ ที่เป็นเพศเมีย) คือ เส้นขอบล่างของข้างลำตัวที่เป็นสีเหลืองๆชัดๆ พบเฉพาะเขียวไผ่หางเขียว (Trimeresurus [Viridovipera] vogeli) เท่านั้น เขียวหางไหม้เพศเมียชนิดอื่นๆมักไม่มีเส้นนี้ หรือมีจางๆได้ทั้งขาวๆ เหลืองๆ เขียวๆ ไอ่ชนิดที่เห็นชัดๆ มันก็เป็นสีขาว หรือเป็นจุดขาวและแดง เรียงเป็นเส้น (ชนิดหลังก็ submitted แล้ว) แต่ถ้าจะเอาเพศผู้มามั่วด้วยก็ยังมีหลายชนิด
ลป. เขียวไผ่หางเขียวตัวเมีย ไม่จำเป็นต้องมีปลายหางขาวๆเสมอไป และตัวผู้ก็ไม่จำเป็นต้องมีสีน้ำตาลจางๆที่ปลายหางด้วย เคยเจอปลายหางเขียวเลยทั้งสองเพศครับ
ความเห็นที่ 32
ความเห็นที่ 33
เกล็ดปากว่าแยกจากกันชัดเจนจะเป็นกลุ่มเขียวไผ่กับท้องเขียว
เอาความรู้เพิ่มเติมยัดใส่สมองอันน้อยนิดต่อครับ
ความเห็นที่ 33.1
ความเห็นที่ 33.1.1
ความเห็นที่ 33.1.2
ความเห็นที่ 34