ไปเที่ยวบราซิล รัฐ Mato Grosso do Sul
เขียนโดย นณณ์ Authenticated user เมื่อ 9 ตุลาคม 2554
ช่วงเดือนที่แล้วได้มีโอกาสไปดูงานที่ประเทศบราซิลกับบริษัทครับ ใช้เวลาอยู่แถวๆเมือง Sao Paulo อยู่ 9 วันก่อนที่จะแยกจากกลุ่มออกมากับน้องชาย (ครั้งแรกที่สองพี่น้องเที่ยวป่าด้วยกัน) สมทบกับเพื่อนชายไทยที่บ้าบินตามไปอีกสองคน จักรกับพี่โทนี่ เพื่อบินไปสู่รัฐ Mato Grosso do Sul แปลเป็นไทยได้ประมาณว่า รัฐที่มีพุ่มไม้รกทึบทางใต้ รัฐนี้อยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศบราซิล ติดกับประเทศโบลิเวียและปารากวัย ต้องบอกว่ารัฐนี้ไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกับแม่น้ำอเมซอนเลย เพราะอเมซอนอยู่ทางตอนเหนือขึ้นไปอีกไกลมากครับ
เป้าหมายมีอยู่สองแห่ง แห่งแรกเป็นเมืองเล็กๆชื่อว่า โบนิโต (Bonito) เป็นเมืองที่อยู่ในพื้นที่ๆเรียกว่า Cerado เป็นเหมือนทุ่งหญ้าสะวันน่าในเขตที่ราบสูงของประเทศบราซิลซึ่งอยู่ในระแวกนี้ของประเทศเค้า พื้นที่ตรงนี้มีเขาหินปูนมากมาย น้ำที่ไหลซึมผ่านเขาหินปูนเมื่อผึดกลับขึ้นมาผ่านชั้นหินและละลายเอาแคลเซียม คาร์บอเนตจากหินปูนมาด้วย ทำให้น้ำที่นี่ใสราวกับกระจก คาร์บอนไดออกไซด์ที่ขึ้นมาด้วยจากใต้ดินก็ทำให้ต้นไม้น้ำอุดมสมบูรณ์กลายเป็นแหล่งดำน้ำจืดที่มีชื่อเสียงของโลก จากนั้น เมื่อเลยขึ้นไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ แผ่นดินจะยุบตัวลงไปกลายเป็นแอ่งลองรับน้ำจาก Cerado รอบๆ ทำให้มันกลายเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ประมาณภาคอีสานของประเทศไทย เรียกกันว่า Pantanal (ภาษาโปรตุเกศ แปลว่า พรุ) พื้นที่ชุ่มน้ำแห่งนี้ใหญ่โตถึงขนาดว่านักสำรวจและทำแผนที่สมัยก่อน เข้าใจว่ามันเป็นทะเลที่อยู่ใจกลางทวีป บางคนเรียกมันว่า Xaraes Sea ตามชื่อชนเผ่าพื้นเมืองในพื้นที่ซึ่งปัจจุบันไม่เหลืออยู่แล้ว
เป้าหมายมีอยู่สองแห่ง แห่งแรกเป็นเมืองเล็กๆชื่อว่า โบนิโต (Bonito) เป็นเมืองที่อยู่ในพื้นที่ๆเรียกว่า Cerado เป็นเหมือนทุ่งหญ้าสะวันน่าในเขตที่ราบสูงของประเทศบราซิลซึ่งอยู่ในระแวกนี้ของประเทศเค้า พื้นที่ตรงนี้มีเขาหินปูนมากมาย น้ำที่ไหลซึมผ่านเขาหินปูนเมื่อผึดกลับขึ้นมาผ่านชั้นหินและละลายเอาแคลเซียม คาร์บอเนตจากหินปูนมาด้วย ทำให้น้ำที่นี่ใสราวกับกระจก คาร์บอนไดออกไซด์ที่ขึ้นมาด้วยจากใต้ดินก็ทำให้ต้นไม้น้ำอุดมสมบูรณ์กลายเป็นแหล่งดำน้ำจืดที่มีชื่อเสียงของโลก จากนั้น เมื่อเลยขึ้นไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ แผ่นดินจะยุบตัวลงไปกลายเป็นแอ่งลองรับน้ำจาก Cerado รอบๆ ทำให้มันกลายเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ประมาณภาคอีสานของประเทศไทย เรียกกันว่า Pantanal (ภาษาโปรตุเกศ แปลว่า พรุ) พื้นที่ชุ่มน้ำแห่งนี้ใหญ่โตถึงขนาดว่านักสำรวจและทำแผนที่สมัยก่อน เข้าใจว่ามันเป็นทะเลที่อยู่ใจกลางทวีป บางคนเรียกมันว่า Xaraes Sea ตามชื่อชนเผ่าพื้นเมืองในพื้นที่ซึ่งปัจจุบันไม่เหลืออยู่แล้ว
Comments
ความเห็นที่ 1
ดำน้ำที่นี่จัดการกันอย่างดี ไปถึงเค้าจับเปลี่ยน wetsuit ที่มีบริการให้ครบทุกขนาด ให้หน้ากาก ให้รองเท้า จากนั้นพาขึ้นรถไป จนถึงแนวชายป่าแล้วให้เดินต่อเข้าไปจนถึงแม่น้ำ ใครดำไม่เป็นก็สอนให้คร่าวๆก่อน กฏเหล็กที่ขัดใจคนไทยเป็นอย่างมาก แต่ก็เข้าใจเค้าคือ
1. ห้ามหยุดต้องลอยไปเรื่อยๆ
2. ห้ามตีขา
3. ห้ามเอาขาเอามือหรือส่วนใดๆแตะพื้นน้ำเด็ดขาด
แล้วตูจะถ่ายรูปยังไงงงงงงงงงง๊
ความเห็นที่ 1.1
ความเห็นที่ 2
ความเห็นที่ 2.1
3] Steindachnerina brevipinna
4] Bryconops melanurus
5] Characidium cf. zebra
ความเห็นที่ 3
ความเห็นที่ 3.1
2] Brycon hillarii
3] cichlid = Cichlasoma dimerus, red tetra = Hyphessobrycon eques
ความเห็นที่ 3.2
2] Brycon hillarii
3] cichlid = Cichlasoma dimerus, red tetra = Hyphessobrycon eques
ความเห็นที่ 4
ความเห็นที่ 5
ความเห็นที่ 6
ความเห็นที่ 6.1
ความเห็นที่ 7
ความเห็นที่ 8
ความเห็นที่ 9
ความเห็นที่ 10
น้ำใสมากกกกกกกกกกกก ไม่อยากคิดว่าถึงหน้าน้องปอแล้ว จะพรึ่บขนาดไหนนะครับนี่
ภาพงามหลายคร้าบบ
ความเห็นที่ 11
2] Steindachnerina brevipinna
3] Bryconops melanurus
4] Characidium cf. zebra
คห 3: 1] Bryconamericus cf. exodon
2] Brycon hillarii
3] Cichlasoma dimerus & Hyphessobrycon eques
ความเห็นที่ 12
ความเห็นที่ 13
ความเห็นที่ 14
ความเห็นที่ 15
ความเห็นที่ 15.1
ความเห็นที่ 15.2
แมลงปอสีแดงแบบนี้คล้ายกับหลายสกุลอยู่ครับ พี่นณณ์ แต่เท่าที่ดูน่าจะอยู่ในสกุล Erythemis นะครับ
ความเห็นที่ 16
ความเห็นที่ 16.1
2-4] Crenicichla lepidota
5-6] Crenicichla vittata ตัวโตเต็มวัยเวลาฮีทปากและท้องจะเหลืองหรือส้มแดง
ความเห็นที่ 17
ความเห็นที่ 17.1
2] Leporinus cf. obtusidens. [there are at least 2 species of large Leporinus in the area: one with barred-based color pattern and another with spot-based color pattern]
3] Leporinus striatus
3] red tail = Bryconamericus cf. exodon
5] Brycon hillarii
6] Piaractus mesopotamicus
ความเห็นที่ 18
ความเห็นที่ 18.1
2] Prochilodus lineatus
3] probably Ancistrus sp.
4-5] Hypostomus cochilodon
6] Pimelodella gracilis
7-8] Salminus brasiliensis
ความเห็นที่ 19
ความเห็นที่ 19.1
2] Jupiaba acanthogaster
3-4] Astyanax asuncionensis
3] left = Acestrorhynchus pantaneiro
ตกลงไม่ได้รูป Moenkhausia bonita [ไอ้ตัวเล็กสวย] หรือครับ?
ความเห็นที่ 19.1.1
ความเห็นที่ 19.1.1.1
ความเห็นที่ 20
ความเห็นที่ 20.1
ที่ Prata นี่มีปลาหลากหลายกว่าที่อื่นๆที่มีการดำน้ำดูปลาใน Bonito แต่มีพืชน้ำหลากหลายน้อยกว่าที่อื่นด้วย กลุ่มที่ไปด้วยกันอีกกลุ่มบอกว่าเขามากัน 8 ครั้งแล้ว
ชื่อปลาจากเอกสารต่างๆของปลาในลุ่มน้ำนี้และลุ่มน้ำใกล้เคียงมีความสับสนไม่น้อยครับอย่างเช่น Astyanax asuncionensis ใน Uruguay และ Argentina อาจใช้ชื่อ Astyanax bimaculatus แทนเป็นต้นครับ
ว่าแต่ว่าในบ้านเราพอจะทำที่ดูปลาคล้ายๆกันได้มั๊ยนะ (น้ำไม่ต้องใสเท่าก็ได้)
ความเห็นที่ 20.1.1
ความเห็นที่ 20.1.1.1
ความเห็นที่ 21
ความเห็นที่ 22
ความเห็นที่ 23
ว่าแต่ยังไม่เห็นรูป King condor หน้าเหมือนไก่งวงตัวนั้นเลย :D
หมายเหตุ > แร้งทุกชนิดในทวีปอเมริกา ล้วนจัดอยู่ในกลุ่มแร้งโลกใหม่(Condor/New world vulture)ด้วยกันทั้งสิ้น ไม่มีแร้งแท้เลยสักชนิดเดียว ส่วนเรื่องที่ว่าพวกคอนดอร์มีเชื้อสายใกล้นกกระสามากกว่าเหยี่ยวหรือเปล่าผมไม่แน่ใจ แต่ทุกเอกสารล้วนยืนยันว่า แร้งแท้(Old world vulture)มีความใกล้ชิดกับเหยี่ยวและอินทรีมากกว่าพวกคอนดอร์ครับ
ความเห็นที่ 24
ความเห็นที่ 25
ความเห็นที่ 26
ความเห็นที่ 27
ความเห็นที่ 28
ความเห็นที่ 29
น้ำที่นั้น เป็นกรด หรือ เป็นด่างอย่างไรครับ ทำไมใสได้ขนาดนั้น
ความเห็นที่ 29.1
ความเห็นที่ 29.1.1
KH 6.5-7.5
GH 10
ความเห็นที่ 30
5555
ความเห็นที่ 30.1
ความเห็นที่ 30.2
ความเห็นที่ 30.2.1
ความเห็นที่ 31
ความเห็นที่ 32
ความเห็นที่ 33
ความเห็นที่ 34
เห็นกระทู้นี้ของคุณนณณ์แล้วอยากไปมากเลย ไม่ทราบว่าจะพอจะสะดวกให้รายละเอียดได้ไหมคะ
เรื่องติดต่อและการเดินทางนะค่ะ ทราบมาว่าคนที่นู่นไม่ถนัดพูดภาษาอังกฤษกันเท่าไรนัก ถ้าได้ทราบ
ข้อมูลโดยตรงจากคุณนณณ์คิดว่าคงเป็นประโยชน์น่าดู
ขอบคุณค่ะ