หวั่นใช้ “ปลากินยุง” ช่วงน้ำท่วมกลายเป็น “เอเลี่ยน” รุกรานปลาท้องถิ่น
เขียนโดย ลำพะเนียง Authenticated user เมื่อ 14 พฤศจิกายน 2554
siamensis.org เป็นสังคมเครื่อข่ายความร่วมมือเกี่ยวกับการให้ข้อมูลทางด้านสิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย
Independence Non-Profit Organization Since 1999
ร่วมพัฒนาเว็บไซต์โดย โอเพ่นดรีม
Comments
ความเห็นที่ 1
ความเห็นที่ 2
ความเห็นที่ 3
ความเห็นที่ 4
ถึงจะปล่อยชนิดที่มีอยู่แล้วก็ตาม แต่ปลากัดแต่ละ habitat จะมีลักษณะเฉพาะของมันอยู่
ถ้าเป็นพวกแฟนซี หรือ ลูกหม้อ ก็จะยิ่งปวดหัวไปกันใหญ่อีก
ที่ปล่อยได้ก็ตามบทความนั่นแหละครับ
- ปลากระดี่ ง่ายสุดก็เห็นจะเป็นปลากระดีหม้อ ปลากระดี่นาง ส่วนปลากระดี่ช๊อตบอดี้อย่าได้มาบังอาจ ปลากระดี่สีฟ้าๆก็ไม่ต้อง
- ปลาสลิด อันนี้ปล่อยไปเลยเต็มที่ครับ
- ปลาหมอไทย ย้ำว่าปลาหมอไทยเท่านั้น ปลาหมอสีหัวโหนกๆอย่าได้ปล่อยมาเด็ดขาด
ความเห็นที่ 5
อยากเห็นส่วนบนมากเลยครับ เพราะเมื่อก่อนไปช้อนปลาเจอปลาอะไรก็ไม่รู้ครับ
รูปร่างตัวเรียวยาว ตัวผู้จะลีบเรื่อยๆถึงหาง ตัวเมียจะมีหัวโตพอๆกับท้องเป้นหลัก
พ่อบอกว่ามันคือปลาซิว เลยจับมาเลี้ยงดูจนมันคลอดลูกอะครับ
ที่สงสัยคือมีมีปลาไทยชนิดไหนไหมที่คล้ายปลานกยูงมากขนาดนี้
ถ้าไม่ใช่คงน่าจะเป็นปลาป่องนั้นแหละครับ ช่วยพิจารณาทีครับ
ความเห็นที่ 6
ความเห็นที่ 7
ความเห็นที่ 8
ความเห็นที่ 9
ความเห็นที่ 10
ความเห็นที่ 11
ความเห็นที่ 12
ความเห็นที่ 13
ความเห็นที่ 14
ความเห็นที่ 14.1