Skip to main content
เข้าสู่ระบบ
|
สมัครสมาชิก
หมวดหมู่:
- ทั้งหมด -
ดัชนีสิ่งมีชีวิต
พิมพ์คำที่ต้องการค้นหา:
กลุ่มอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อม
Home
Article
Species Index
Webboard
Documents
Quizzes
หน้าแรก
»
บอร์ดพูดคุย
»
Fish : ปลา
»
เหล่าปลายี่สกสกุล Probarbus
เลือกหมวดหมู่
All Category : ทั้งหมด
Bird : นก
Crustacean : ปูและกุ้ง
Environment : สิ่งแวดล้อม
Fish : ปลา
Fungi : เห็ดรา
Herp : เลื้อยคลานและครึ่งบกครึ่งน้ำ
Insect : แมลง
Mammal : เลี้ยงลูกด้วยนม
Mollusk : หอย
Other Arthropods : สัตว์ขาข้ออื่นๆ
Plant : พืช
Travel : ท่องเที่ยว
Others : อื่นๆ
เหล่าปลายี่สกสกุล Probarbus
เขียนโดย waterpanda
Authenticated user
เมื่อ 19 ธันวาคม 2554
หมู่เฮา (ปาเอินส์)
Probarbus
spp. และผองเพื่อน จาก Pakse
‹ ปลาเสือตอ (เจอในเว้บ)
ปลาทะเลกำลังถูกคุกคามทั่วโลก แม้กระทั่งเจ้าตัวน้อยๆ Saving Nemo: Charisma is not enough ›
Fish : ปลา
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
อ่าน 17887 ครั้ง
Comments
ความเห็นที่ 1
เขียนโดย นณณ์
Authenticated user
เมื่อ 19 ธันวาคม 2554
ขออนุญาตนำภาพไปใส่ species index นะครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.1
เขียนโดย waterpanda
Authenticated user
เมื่อ 19 ธันวาคม 2554
เอาโลดดดด..... ที่แต่งรูปชัดๆ ก็เผื่อให้เอาไปใช้นี่แหละ
ว่าแต่ว่า รูปสุดท้ายเอา (ใส่ SI) ด้วยมั้ย????
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.2
เขียนโดย Anuratana
Authenticated user
เมื่อ 20 ธันวาคม 2554
ลองเทียบกับ จ.เล็กของโบราณดูครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.2.1
เขียนโดย waterpanda
Authenticated user
เมื่อ 20 ธันวาคม 2554
เหมือนกะโห้เลย
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.2.1.1
เขียนโดย Fisher
Authenticated user
เมื่อ 20 ธันวาคม 2554
ลายมันหายไปไหนหมดหละครับ..แล้วมันจะเป็นแตงไทยได้ไงครับ..ที่บ้านผมขนาด8-9 กก.ยังมีลายดำชัดเจนอยู่เลยครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.2.1.1.1
เขียนโดย Anuratana
Authenticated user
เมื่อ 20 ธันวาคม 2554
จ.เล็ก = labeaminor ลายเล็กกว่ายี่สกไทยอยู่แล้วครับ (ในรูปมีปลายี่สกไทยให้เทียบ) ทั้งสองชนิดลายของปลาเลี้ยงก็อยู่ชัดนะครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.2.1.1.1.1
เขียนโดย Fisher
Authenticated user
เมื่อ 21 ธันวาคม 2554
อืม..ครับ มันคือเิอินฝ้ายใช่ไหม
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.2.1.1.1.2
เขียนโดย waterpanda
Authenticated user
เมื่อ 21 ธันวาคม 2554
ตัวอย่างได้เก็บไว้รึเปล่า จะมีประโยชน์มาก
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.2.1.1.1.2.1
เขียนโดย Fisher
Authenticated user
เมื่อ 23 ธันวาคม 2554
น่าจะยังอยู่ครับ..ไม่เห็นว่าลอยขึ้นมาครับได้มาเมื่อ 8-9 ปีแล้วติดมากับยี่สก ที่ผมเห็นมันต่างกัน
ที่ตาปลาครับเจ้าตาเพชรจะแดงกล่ำน่ากลัวดีถ้าเป็นปลาเอินจะซีดๆขาวๆครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 2
เขียนโดย aqueous_andaman
Authenticated user
เมื่อ 19 ธันวาคม 2554
ชอบหน้านอสีงามมาก กะ ปลาตัวสุดท้าย น่าร๊ากมั๊กๆ ^^
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 3
เขียนโดย Fisher
Authenticated user
เมื่อ 19 ธันวาคม 2554
สิวที่หน้า..ของเจ้าหน้านอมันมีไว้ทำอะไรครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 3.1
เขียนโดย นณณ์
Authenticated user
เมื่อ 19 ธันวาคม 2554
สิวแบบนี้จะขึ้นเด่นชัดที่สุดในปลาเพศผู้ ในวัยเจริญพันธุ์ ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ ถ้าไม่ได้เอาไว้อวดความพร้อมในการผสมพันธุ์ ก็คงมีวิธีการใช้อย่้างใดอย่างหนึ่ง เช่นเอาไว้จั๊กจี้ตัวเมียให้วางไข่
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 3.1.1
เขียนโดย สมหมาย
Authenticated user
เมื่อ 21 ธันวาคม 2554
เคยอ่านใน textbook ที่ไหนสักแห่ง...เขาว่าปลาที่มีตุ่มสิวแบบนี้มักอยู่ในที่น้ำไหลแรง กระแสน้ำที่แรงจะทำให้การผสมพันธุ์ไม่ประสบผลสำเร็จดีเท่ากับควร (เข้าข่ายสมรสแต่ไม่สมรัก) เพราะตัวปลามีเมือกลื่นปกคลุมอยู่ภายนอก เพื่อแก้ปัญหาการลื่นออกจากกันขณะผสมพันธุ์ ปลาก็เลยมีตุ่มสากๆ นี้มาเพื่อให้เกิดแรงเสียดทานทำให้มีเวลาในการแนบชิดมากขึ้น ไข่และน้ำเชื้อจึงมีโอกาสได้พบกันสูงตามไปด้วย (อันนี้ผิดกะคนนะครับ เคยเห็นแต่โฆษณาสารช่วยเพิ่มความหล่อลื่น)
ปูลิง. หลายชนิดพบทั้งปลาเพศผู้และเพศเมียครับ ไม่ได้พบเฉพาะเพศผู้ และในสกุล
Poropuntius
จะมีตุ่มสิวที่ว่านี้ทั้งปี มันอาจจะเป็นนัยว่าปลามันนั่นกันได้ทั้งปีหรือเปล่าอันนี้ก็ไม่แน่ใจ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 3.1.1.1
เขียนโดย waterpanda
Authenticated user
เมื่อ 22 ธันวาคม 2554
External fert. ก็ต้องการ friction ให้เกาะกัน(เอา)อยู่ ส่วนคนน่ะ Internal fert. ก็ต้องมี mucus ทำให้ลื่นไหลเข้าซอยได้ถี่ๆ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 4
เขียนโดย นายดำดี
Authenticated user
เมื่อ 20 ธันวาคม 2554
หว้าหน้านอ นี้ผมมีอยู่ในร่องสวน 2 ตัว แต่ตอนนี้คงจะไปกับน้องน้ำแล้ว
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
Comments
ความเห็นที่ 1
ความเห็นที่ 1.1
ว่าแต่ว่า รูปสุดท้ายเอา (ใส่ SI) ด้วยมั้ย????
ความเห็นที่ 1.2
ความเห็นที่ 1.2.1
ความเห็นที่ 1.2.1.1
ความเห็นที่ 1.2.1.1.1
ความเห็นที่ 1.2.1.1.1.1
ความเห็นที่ 1.2.1.1.1.2
ความเห็นที่ 1.2.1.1.1.2.1
ที่ตาปลาครับเจ้าตาเพชรจะแดงกล่ำน่ากลัวดีถ้าเป็นปลาเอินจะซีดๆขาวๆครับ
ความเห็นที่ 2
ความเห็นที่ 3
ความเห็นที่ 3.1
ความเห็นที่ 3.1.1
ปูลิง. หลายชนิดพบทั้งปลาเพศผู้และเพศเมียครับ ไม่ได้พบเฉพาะเพศผู้ และในสกุล Poropuntius จะมีตุ่มสิวที่ว่านี้ทั้งปี มันอาจจะเป็นนัยว่าปลามันนั่นกันได้ทั้งปีหรือเปล่าอันนี้ก็ไม่แน่ใจ
ความเห็นที่ 3.1.1.1
ความเห็นที่ 4