Skip to main content
เข้าสู่ระบบ
|
สมัครสมาชิก
หมวดหมู่:
- ทั้งหมด -
ดัชนีสิ่งมีชีวิต
พิมพ์คำที่ต้องการค้นหา:
กลุ่มอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อม
Home
Article
Species Index
Webboard
Documents
Quizzes
หน้าแรก
»
บอร์ดพูดคุย
»
Herp : เลื้อยคลานและครึ่งบกครึ่งน้ำ
»
ไปขุดขึ้นมาถาม
เลือกหมวดหมู่
All Category : ทั้งหมด
Bird : นก
Crustacean : ปูและกุ้ง
Environment : สิ่งแวดล้อม
Fish : ปลา
Fungi : เห็ดรา
Herp : เลื้อยคลานและครึ่งบกครึ่งน้ำ
Insect : แมลง
Mammal : เลี้ยงลูกด้วยนม
Mollusk : หอย
Other Arthropods : สัตว์ขาข้ออื่นๆ
Plant : พืช
Travel : ท่องเที่ยว
Others : อื่นๆ
ไปขุดขึ้นมาถาม
เขียนโดย kkc.38
Authenticated user
เมื่อ 31 มกราคม 2555
ไปรวบรวมภาพมาจากเพื่อนที่ออกลาดตระเวน ไ้ด้ภาพเลื้อยคลานมาหลายตัว เลยนำมาถามครับ
‹ อยากทราบว่าในภาพคืองูอะไรครับ
งูเข้าช่องแอร์...รบกวนถามชนิดงูครับ ›
Herp : เลื้อยคลานและครึ่งบกครึ่งน้ำ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
อ่าน 11063 ครั้ง
Comments
ความเห็นที่ 1
เขียนโดย kkc.38
Authenticated user
เมื่อ 31 มกราคม 2555
ชุดแรกครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 2
เขียนโดย kkc.38
Authenticated user
เมื่อ 31 มกราคม 2555
ชุดที่สองครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 2.1
เขียนโดย นณณ์
Authenticated user
เมื่อ 31 มกราคม 2555
ตัวล่างสุดเป็น
ชื่อไทย:
งูลายสาบเขียวขวั้นดำ
ชื่อสามัญ:
Green Keelback
ชื่อวิทยาศาสตร์:
Rhabdophis nigrocinctus
(Blyth, 1856)
http://www.siamensis.org/species_index#3512--Species: Rhabdophis nigrocinctus
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 3
เขียนโดย kkc.38
Authenticated user
เมื่อ 31 มกราคม 2555
ชุดที่สาม ครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 3.1
เขียนโดย นกกินเปี้ยว
Authenticated user
เมื่อ 31 มกราคม 2555
ตัวแรกสีน้ำตาลแดง น่าจะงูต้องไฟ
Boiga nigriceps
นะครับ (เป็นชื่อแรกที่นึกถึง เมื่อตอนเห็นภาพ)
ตัวที่สอง ผมว่าไม่สิงอ่ะ เกล็ดที่หน้ามันดูใหญ่ๆ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 3.2
เขียนโดย Portrait
Authenticated user
เมื่อ 31 มกราคม 2555
ตัวที่สองนี่เป็นลูกพี่ใหญ่ของที่นี่เลยครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 4
เขียนโดย Corwin
Authenticated user
เมื่อ 31 มกราคม 2555
ชุดแรก
ภาพที่2 งูปล้องฉนวนลาว
ภาพที่3 น่าจะเป็นงูสิงหางดำ
ชุดที่2
ภาพที่1 งูแส้หางม้าเทา
ภาพที่ 3ลายสาบเขียวขวั้นดำ
ชุดที่3
ถาพที่1 ทางมะพร้าวแดง SP.
ภาพที่2 จงอางค่อนข้างแน่นอน
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 5
เขียนโดย พรุ
Authenticated user
เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2555
ชุด 3 งูแดงๆ หน้าตาคล้ายงูปี่แก้วเลยครับ
ส่วนจิ้งเหลนด้วงตัวสุดท้าย มีชื่อไปเรียบร้อยครับ จิ้งเหลนด้วงจารุจินต์
Jarujinia bipedalis
ครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 5.1
เขียนโดย นกกินเปี้ยว
Authenticated user
เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2555
เลยลองค้นภาพงู
Boiga nigriceps
ในเน็ตดู คนละกลุ่มกันจริงด้วย ตัวนี้ออกอวบๆสั้นๆ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 6
เขียนโดย นณณ์
Authenticated user
เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2555
ขอภาพจิ้งเหลนด้วงไปทำ SI นะครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 7
เขียนโดย kkc.38
Authenticated user
เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2555
ภาพแบบเห็นทั้งตัว เพื่อทำ SI ครับคุณนณณ์
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 8
เขียนโดย kkc.38
Authenticated user
เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2555
ภาพงูตัวแดง อีกมุมครับ ครอปแล้ว
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 9
เขียนโดย นณณ์
Authenticated user
เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2555
ขอบคุณครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 10
เขียนโดย Corwin
Authenticated user
เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2555
^
^
^
ไม่ใช่ทางมะพร้าวแดงแล้ว...น่าจะ Oligodon จริงๆด้วย
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 11
เขียนโดย Portrait
Authenticated user
เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2555
โนไอเดียกับเจ้าตัวแดงๆเลย ไม่คุ้นหน้าคุ้นตา ประสบการณ์ผมยังด้อย
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 12
เขียนโดย knotsnake
Authenticated user
เมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2555
เข้ามาช่วยยืนยันชนิด
ชุกแรก
1. Python brongersmai ยังมั่นใจว่าไม่ใช่ปากเป็ดพม่า
2. Lycodon laoensis
3. Ptyas carinata
ชุดสอง
1. Boiga siamensis
2. Oligodon fasciolatus
3. Rhabdophis nigrocinctus
ชุดสาม
1. Oligodon sp. (บอกได้แค่ไม่ใช่ fasciolatus, purpurascens และ taeniatus-species group) ต้องไปไล่กลุ่ม cyclurus ซึ่งเป็นกลุ่มนรก ลักษณะภายนอกที่ช่วยพิจารณาคือ ประมาณเกล็ดรอบกลางตัวได้ ๑๙ แถว (ทำให้ตัด fasciolatus ออก และกลุ่มงูงอดได้เกือบทั้งหมด ยกเว้นงอดไทย) ท้องขาว (ตัดงูงอดไทยออก และ purpurascens) ตัวที่มีโอกาสใช่ก็มี dorsolateralis โดยดูจากธรรมชาติของลาย แต่ยังไม่ฟันธง เพาะจำท้องของมันไม่ได้ครับ
2. Ophiophagus hannah อึ้ง..เพราะปกติแถวๆนั้นไม่น่าใช่ฟอร์มนี้ ถ้ามีภาพส่วนหางไกลๆแบบนี้ก็ได้ จะช่วยให้ผมสบายใจขึ้นครับ เนื่องจากคล้ายงุปล่อยจริงๆตัวนี้น่ะ
3. Jarujinia bipedalis ที่ต่างจากกลุ่มจิ้งเหลนด้วงสกุล Isopachys ที่ชัดสุดๆคือ ตัวนี้มีขาหน้าเล็กๆ และไม่มีขาหลัง เลยกลายเป็นสกุลใหม่ของโลกเรียบร้อยแล้ว และจะเป็น new record ของจังหวัดเพชรบุรีโดยอัตโนมัติ และเป็นจังหวัดที่สามที่พบจิ้งเหลนชนิดนี้ (แต่ยังไม่มีการตีพิมพ์เป็นทางการทั้งสองจังหวัดนอกเหนือจาก type locality)
ลป. ขออภัย วันนี้ขี้เกียจทำตัวเอนครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 13
เขียนโดย kkc.38
Authenticated user
เมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2555
ขอบคุณครับ อ.น๊อต
ภาพงูจงอางตัวนี้ในมุมอื่นไม่มีเลยครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
Comments
ความเห็นที่ 1
ความเห็นที่ 2
ความเห็นที่ 2.1
ชื่อไทย: งูลายสาบเขียวขวั้นดำ
ชื่อสามัญ: Green Keelback
ชื่อวิทยาศาสตร์: Rhabdophis nigrocinctus (Blyth, 1856)
http://www.siamensis.org/species_index#3512--Species: Rhabdophis nigrocinctus
ความเห็นที่ 3
ความเห็นที่ 3.1
ตัวที่สอง ผมว่าไม่สิงอ่ะ เกล็ดที่หน้ามันดูใหญ่ๆ
ความเห็นที่ 3.2
ความเห็นที่ 4
ภาพที่2 งูปล้องฉนวนลาว
ภาพที่3 น่าจะเป็นงูสิงหางดำ
ชุดที่2
ภาพที่1 งูแส้หางม้าเทา
ภาพที่ 3ลายสาบเขียวขวั้นดำ
ชุดที่3
ถาพที่1 ทางมะพร้าวแดง SP.
ภาพที่2 จงอางค่อนข้างแน่นอน
ความเห็นที่ 5
ส่วนจิ้งเหลนด้วงตัวสุดท้าย มีชื่อไปเรียบร้อยครับ จิ้งเหลนด้วงจารุจินต์ Jarujinia bipedalis ครับ
ความเห็นที่ 5.1
ความเห็นที่ 6
ความเห็นที่ 7
ความเห็นที่ 8
ความเห็นที่ 9
ความเห็นที่ 10
^
^
ไม่ใช่ทางมะพร้าวแดงแล้ว...น่าจะ Oligodon จริงๆด้วย
ความเห็นที่ 11
ความเห็นที่ 12
ชุกแรก
1. Python brongersmai ยังมั่นใจว่าไม่ใช่ปากเป็ดพม่า
2. Lycodon laoensis
3. Ptyas carinata
ชุดสอง
1. Boiga siamensis
2. Oligodon fasciolatus
3. Rhabdophis nigrocinctus
ชุดสาม
1. Oligodon sp. (บอกได้แค่ไม่ใช่ fasciolatus, purpurascens และ taeniatus-species group) ต้องไปไล่กลุ่ม cyclurus ซึ่งเป็นกลุ่มนรก ลักษณะภายนอกที่ช่วยพิจารณาคือ ประมาณเกล็ดรอบกลางตัวได้ ๑๙ แถว (ทำให้ตัด fasciolatus ออก และกลุ่มงูงอดได้เกือบทั้งหมด ยกเว้นงอดไทย) ท้องขาว (ตัดงูงอดไทยออก และ purpurascens) ตัวที่มีโอกาสใช่ก็มี dorsolateralis โดยดูจากธรรมชาติของลาย แต่ยังไม่ฟันธง เพาะจำท้องของมันไม่ได้ครับ
2. Ophiophagus hannah อึ้ง..เพราะปกติแถวๆนั้นไม่น่าใช่ฟอร์มนี้ ถ้ามีภาพส่วนหางไกลๆแบบนี้ก็ได้ จะช่วยให้ผมสบายใจขึ้นครับ เนื่องจากคล้ายงุปล่อยจริงๆตัวนี้น่ะ
3. Jarujinia bipedalis ที่ต่างจากกลุ่มจิ้งเหลนด้วงสกุล Isopachys ที่ชัดสุดๆคือ ตัวนี้มีขาหน้าเล็กๆ และไม่มีขาหลัง เลยกลายเป็นสกุลใหม่ของโลกเรียบร้อยแล้ว และจะเป็น new record ของจังหวัดเพชรบุรีโดยอัตโนมัติ และเป็นจังหวัดที่สามที่พบจิ้งเหลนชนิดนี้ (แต่ยังไม่มีการตีพิมพ์เป็นทางการทั้งสองจังหวัดนอกเหนือจาก type locality)
ลป. ขออภัย วันนี้ขี้เกียจทำตัวเอนครับ
ความเห็นที่ 13
ภาพงูจงอางตัวนี้ในมุมอื่นไม่มีเลยครับ