Skip to main content
เข้าสู่ระบบ
|
สมัครสมาชิก
หมวดหมู่:
- ทั้งหมด -
ดัชนีสิ่งมีชีวิต
พิมพ์คำที่ต้องการค้นหา:
กลุ่มอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อม
Home
Article
Species Index
Webboard
Documents
Quizzes
หน้าแรก
»
บอร์ดพูดคุย
»
Travel : ท่องเที่ยว
»
แว้ง ...ที่รัก
เลือกหมวดหมู่
All Category : ทั้งหมด
Bird : นก
Crustacean : ปูและกุ้ง
Environment : สิ่งแวดล้อม
Fish : ปลา
Fungi : เห็ดรา
Herp : เลื้อยคลานและครึ่งบกครึ่งน้ำ
Insect : แมลง
Mammal : เลี้ยงลูกด้วยนม
Mollusk : หอย
Other Arthropods : สัตว์ขาข้ออื่นๆ
Plant : พืช
Travel : ท่องเที่ยว
Others : อื่นๆ
แว้ง ...ที่รัก
เขียนโดย พรุ
Authenticated user
เมื่อ 11 พฤษภาคม 2555
มาปล่อยภาพบางส่วนจาก อ.แว้ง นราธิวาสครับ สถานที่คงไม่ต้องเดานะครับผม :)
‹ สิงสาราสัตว์ จาก Chester and Manchester 2012
ไปทำงาน เลยมีติดปลายนวม ณ ภูเก็ต ›
Travel : ท่องเที่ยว
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
อ่าน 17556 ครั้ง
Comments
ความเห็นที่ 1
เขียนโดย พรุ
Authenticated user
เมื่อ 11 พฤษภาคม 2555
flora
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 2
เขียนโดย พรุ
Authenticated user
เมื่อ 11 พฤษภาคม 2555
เด่วมาต่อครับ :)
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 3
เขียนโดย ต้ล. (ไม่ได้ล๊อคอิน)
Anonymous user
เมื่อ 11 พฤษภาคม 2555
(
IP:
171.97.34.60)
มุมสูงนั่นถ่ายจากตรงไหนอะ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 4
เขียนโดย น้องเจ้านาง
Authenticated user
เมื่อ 12 พฤษภาคม 2555
ภาพแรกป่าเขียวมากๆ สวยจังคะ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 5
เขียนโดย พรุ
Authenticated user
เมื่อ 12 พฤษภาคม 2555
ยามค่ำคืน
ตุ๊กแกบินหางหยัก
Ptychozoon lionotum
กบชะง่อนผาใต้
Odorrana hosii
กบแรด
Limnonectes plicatella
ปาดหูดำ
Polypedates macrotis
และ พระเอกของคืนแรก หนีไม่พ้น ปาดป่าจุดขาว
Nyctixalus pictus
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 6
เขียนโดย พรุ
Authenticated user
เมื่อ 12 พฤษภาคม 2555
ตุ๊กกายมลายู
Cyrtodactylus consobrinus
เป็นชนิดที่พบได้ค่อนข้างบ่อย ถ้ารู้จักลักษณะที่อยู่อาศัยของมันครับ คราวที่แล้วพบเพียงตัวเดียว คราวนี้ล่อไปหนึ่งฝูง
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 7
เขียนโดย พรุ
Authenticated user
เมื่อ 12 พฤษภาคม 2555
กบลายหินใต้
Amolops larutensis
พบอาศัยในแก่งลำธารที่ไหลแรง พบค่อนข้างเยอะ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 8
เขียนโดย พรุ
Authenticated user
เมื่อ 12 พฤษภาคม 2555
พาดอกไม้มาคั่นสองชนิด
Globba sp.
และ ว่านพังพอน
Tacca integrifolia
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 8.1
เขียนโดย callus
Authenticated user
เมื่อ 15 พฤษภาคม 2555
Globba ...... อยากเห็นดอก ^^
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 9
เขียนโดย knotsnake
Authenticated user
เมื่อ 12 พฤษภาคม 2555
อ๊ากกกกก ค้างคาวสวยมากกกกก นึกถึงม้ากระทืบโรงที่ระนองเลย สีไปโทนเดียวกัน
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 9.1
เขียนโดย ไอ้ลูกทุ่ง
Authenticated user
เมื่อ 14 พฤษภาคม 2555
ค้างคาวขาวเหรอครับ?
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 10
เขียนโดย พรุ
Authenticated user
เมื่อ 12 พฤษภาคม 2555
ลงน้ำกันบ้าง เสียดายรอบนี้ ไม่ค่อยพบปลาขยุย กับ ปลา จิ้งจกครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 10.1
เขียนโดย Plateen
Authenticated user
เมื่อ 13 พฤษภาคม 2555
ปลาเล็บมือนาง Crossocheilus oblongus
Kuhl & van Hasselt 1823
ปลาค้อมัศย Nemacheilus masyae
Smith 1933
ปลาสร้อยบัว Lobocheilos rhabdoura
(Fowler 1934)
ปลาหมูจุด Syncrossus beauforti
(Smith 1931)
ปลาร่องไม้ตับ Osteochilus waandersii
(Bleeker 1853)
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 10.1.1
เขียนโดย นณณ์
Authenticated user
เมื่อ 14 พฤษภาคม 2555
C. oblongus
แยกกับ
C. siamensis
ยังไงครับ?
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 10.1.1.1
เขียนโดย Plateen
Authenticated user
เมื่อ 14 พฤษภาคม 2555
Crossocheilus siamensis
มีสถานะทางอนุกรมวิธานเป็นชื่อพ้องของ
C. oblongus
ครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 11
เขียนโดย พรุ
Authenticated user
เมื่อ 13 พฤษภาคม 2555
ต่อด้วยเลื้อยคลานครับ
ตุ๊กแกสีเทา
Gekko smithii
ตุ๊กกายลายสี่ขีด
Cyrtodactylus quadrivirgatus
กิ้งก่าดงใหญ่
Gonocephalus grandis
กิ้งก่าพระอินทร์
Aphaniotis fuscus
และงูไม่กี่ชนิดของทริปนี้ งูกินทากหัวโหนก
Aplopeltura boa
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 12
เขียนโดย พรุ
Authenticated user
เมื่อ 12 พฤษภาคม 2555
ในคืนต่อๆมา กบเขียด ต่างออกมาโชว์ตัวต้อนรับฝนที่กระหน่ำลงมาในช่วงเย็นครับ
กบหลังจุด
Hylarana signata
ส่งเสียงร้องทั่วไป ในคลอง จิ๊ดๆๆ
กบหลังตาพับ
Limnonectes laticeps
คางคกต้นไม้
Pedostibes hosil
เป็นวัยเด็กมาก สียังเขียวอี๋
และ อึ่งท้องแดง
Phrynella pulchra
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 12.1
เขียนโดย iDuang
Authenticated user
เมื่อ 12 พฤษภาคม 2555
signata สีมันสดจังครับ คางคกต้นไม้สีกับลายก็อย่างกับการ์ตูนอนิเมชั่น น่าอิจฉา TT'
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 13
เขียนโดย พรุ
Authenticated user
เมื่อ 12 พฤษภาคม 2555
แป๊ด แป๊ด แปร๊ดดด เสียงที่ผมได้ยินมา ทุกคืน ในที่สุด กบที่ผมมาตามหาก็ได้พบ
อึ่งกรายจมูกแหลม
Megophrys nasuta
เป็นตัวผู้ที่ตัวใหญ่มากครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 13.1
เขียนโดย iDuang
Authenticated user
เมื่อ 12 พฤษภาคม 2555
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 14
เขียนโดย พรุ
Authenticated user
เมื่อ 12 พฤษภาคม 2555
เอามาฝากพวกไม่มีกระดูกบ้างครับ
ปูตัวแรก ไปปีนล้วงมาจากโพรงน้ำขัง บนต้นไม้ครับ
ส่วนปูแสมภูเขา พบในพื้นที่ที่เป็นโคลนริมลำห้วยเล็กๆในหุบลึกครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 14.1
เขียนโดย iDuang
Authenticated user
เมื่อ 13 พฤษภาคม 2555
ตัวสุดท้ายขอมุมบนได้มั้ยครับท่าน
ถ้าหลังมีจุดเล็กๆเป็นร่องเรียงลงไปเป็น
Thaumastopeus pugnator
ครับ
ค่อนข้างชัวร์ว่าเป็นเจ้านี่ รายงานใหม่อีกแล้ว!
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 14.1.1
เขียนโดย Beetle_Lover
Authenticated user
เมื่อ 13 พฤษภาคม 2555
ด้วงดอกไม้เขียวแหลม มีรายงานก่อนหน้านี้แล้วหนิครับพี่ แต่ผมก็พึ่งเห็นรูปในไทย ไม่รู้ในหนังสือมีไหม
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 14.1.1.1
เขียนโดย iDuang
Authenticated user
เมื่อ 13 พฤษภาคม 2555
รายงานตอนไหน?
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 14.1.1.1.1
เขียนโดย Beetle_Lover
Authenticated user
เมื่อ 13 พฤษภาคม 2555
เห็นมีในรายชื่อด้วงดอกไม้ในประเทศไทยนานแล้วนิครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 14.2
เขียนโดย นกกินเปี้ยว
Authenticated user
เมื่อ 15 พฤษภาคม 2555
ปูตัวแรกน่าจะเป็นปูสกุล
Phricotelphusa
ในวงศ์ Gecarcinucidae ปัจจุบันวงศ์นี้เป็นวงศ์ของปูนา-ปูลำห้วยด้วย ปูสกุลนี้บางชนิดก็ชอบอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำชั่วคราว
อีกตัวเท่าที่ดูจากลักษณะภายนอกของกระดอง กับส่วนขา ก็น่าจะเป็นปูแสมเขาใต้
Geosesarma foxi
นี่แหละ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 15
เขียนโดย พรุ
Authenticated user
เมื่อ 12 พฤษภาคม 2555
ร่วมยินดีปรีดากับการสำรวจครั้งนี้ ได้กว่าง รายงานใหม่ของประเทศเรามา 1 ชนิด ต้องขอบคุณน้องโอ๊ค จำแนกให้ครับ
กว่างขนมลายู
Allomyrina pfeifferi
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 15.1
เขียนโดย iDuang
Authenticated user
เมื่อ 13 พฤษภาคม 2555
ยิ้มหน้าบานเลยครับเมื่อรู้ว่าไทยเราเจอเจ้านี้ :D
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 15.2
เขียนโดย Beetle_Lover
Authenticated user
เมื่อ 13 พฤษภาคม 2555
กรี๊ดดดดดดดดดดดดดดดดดดดด
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 16
เขียนโดย พรุ
Authenticated user
เมื่อ 13 พฤษภาคม 2555
สัตว์อื่นพื้นเพของแถวนี้บ้างครับ
พญากระรอกสีครีม ตัวนี้ออกมาหาลูกไม้กินแถวบ้านพักเลย ตัวพอๆกับพญากระรอกสีดำเลยครับ
นกเงือกปากย่น ตัวนี้ดีใจมากที่ได้พบครับ ถ่ายได้มาไม่ดีเลย
และสุดท้าย นกเงือกสุดโหลที่นี่ นกเงือกหัวแรด
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 17
เขียนโดย knotsnake
Authenticated user
เมื่อ 13 พฤษภาคม 2555
นี่อ่ะนะ ตัวพื้นๆของมัน อ้ากกกกกกก
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 18
เขียนโดย ต้ล
Authenticated user
เมื่อ 13 พฤษภาคม 2555
อุดมสมบูรณ์จริงๆเห็นแล้วก็อยากรีบกลับบ้าน ฮิ_ฮิ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 19
เขียนโดย GreenEyes
Authenticated user
เมื่อ 13 พฤษภาคม 2555
"
เหยดดดด
"
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 20
เขียนโดย หนึ่ง
Authenticated user
เมื่อ 13 พฤษภาคม 2555
จะบ้าตาย
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 21
เขียนโดย เก่ง อินทนนท์
Authenticated user
เมื่อ 13 พฤษภาคม 2555
สุดยอด สีสวยจริง ๆ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 22
เขียนโดย ไอ้ลูกทุ่ง
Authenticated user
เมื่อ 14 พฤษภาคม 2555
แต่ละภาพ และสัตว์ แมลงแต่ละชนิด งดงามมากครับ ขอบคุณที่นำมาแบ่งปัน
เมื่อไหร่จะได้ไปกะเค้าบ้างแว๊...
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 23
เขียนโดย tavon
Authenticated user
เมื่อ 14 พฤษภาคม 2555
อยากกลับไปอีกครั้ง.....จัง ฮาลา-บาลา
เมื่อประมาณแปดเก้าปีก่อนผมได้ไปป่าบาลาสามถึงสี่ครั้ง ยังจำติดใจมิรู้ลืม ทั้งไปกับกลุ่มดูนกและกับกลุ่มสำรวจสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก-เลื้อยคลาน ที่นี่แตกต่างกับป่าใต้อื่นๆ เพราะเป็นป่าดิบอินโด-มลายันแท้ๆ นกนี่ไม่ต้องพูดถึง สวรรค์ของนักดูนกชัดๆ นกเงือกแทบจะครบชนิดในเบิร์ดไกด์ สมัยยังไม่มีกล้องดิจิตอลก็ได้แต่ดูและเก็บไว้ในความทรงจำอย่างเดียว ปาดเขียวตีนดำสวยจนทำผมแทบน้ำตาเล็ด คางคกต้นไม้ตัวเมียสุดสวย(แต่ยังไม่เคยเห็นตัวผู้ซึ่งสุดสวยกว่า) ผมยังได้ดำน้ำดูนิสัยปลาแต่ละชนิดหากินตามธารน้ำตก ได้เดินส่องหาสัตว์ยามค่ำคืน จนเมื่อมีผู้ทำให้โจรกระจอกลุกฮือ ผมก็ไม่ได้กลับไปที่นั่นอีกเลยด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัย....สำหรับผู้ที่มีหัวใจสีเขียว ไม่ได้มา "ฮาลา-บาลา" จะนอนตายตาหลับได้เยี่ยงไร ขอบคุณน้องพรุที่ช่วยนำเพื่อนเก่าๆกลับมาเยี่ยมเยือนผมอีกครั้ง ขอบคุณจากใจ รักเมืองไทยที่สุดดดดดดด
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 24
เขียนโดย นกกินเปี้ยว
Authenticated user
เมื่อ 15 พฤษภาคม 2555
แหร่มๆทั้งนั้น
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
Comments
ความเห็นที่ 1
ความเห็นที่ 2
ความเห็นที่ 3
ความเห็นที่ 4
ภาพแรกป่าเขียวมากๆ สวยจังคะ
ความเห็นที่ 5
ตุ๊กแกบินหางหยัก Ptychozoon lionotum
กบชะง่อนผาใต้ Odorrana hosii
กบแรด Limnonectes plicatella
ปาดหูดำ Polypedates macrotis
และ พระเอกของคืนแรก หนีไม่พ้น ปาดป่าจุดขาว Nyctixalus pictus
ความเห็นที่ 6
ความเห็นที่ 7
ความเห็นที่ 8
Globba sp.
และ ว่านพังพอน Tacca integrifolia
ความเห็นที่ 8.1
ความเห็นที่ 9
ความเห็นที่ 9.1
ความเห็นที่ 10
ความเห็นที่ 10.1
ปลาค้อมัศย Nemacheilus masyae Smith 1933
ปลาสร้อยบัว Lobocheilos rhabdoura (Fowler 1934)
ปลาหมูจุด Syncrossus beauforti (Smith 1931)
ปลาร่องไม้ตับ Osteochilus waandersii (Bleeker 1853)
ความเห็นที่ 10.1.1
ความเห็นที่ 10.1.1.1
ความเห็นที่ 11
ตุ๊กแกสีเทา Gekko smithii
ตุ๊กกายลายสี่ขีด Cyrtodactylus quadrivirgatus
กิ้งก่าดงใหญ่ Gonocephalus grandis
กิ้งก่าพระอินทร์ Aphaniotis fuscus
และงูไม่กี่ชนิดของทริปนี้ งูกินทากหัวโหนก Aplopeltura boa
ความเห็นที่ 12
กบหลังจุด Hylarana signata ส่งเสียงร้องทั่วไป ในคลอง จิ๊ดๆๆ
กบหลังตาพับ Limnonectes laticeps
คางคกต้นไม้ Pedostibes hosil เป็นวัยเด็กมาก สียังเขียวอี๋
และ อึ่งท้องแดง Phrynella pulchra
ความเห็นที่ 12.1
ความเห็นที่ 13
อึ่งกรายจมูกแหลม Megophrys nasuta เป็นตัวผู้ที่ตัวใหญ่มากครับ
ความเห็นที่ 13.1
ความเห็นที่ 14
ปูตัวแรก ไปปีนล้วงมาจากโพรงน้ำขัง บนต้นไม้ครับ
ส่วนปูแสมภูเขา พบในพื้นที่ที่เป็นโคลนริมลำห้วยเล็กๆในหุบลึกครับ
ความเห็นที่ 14.1
ถ้าหลังมีจุดเล็กๆเป็นร่องเรียงลงไปเป็น Thaumastopeus pugnator ครับ
ค่อนข้างชัวร์ว่าเป็นเจ้านี่ รายงานใหม่อีกแล้ว!
ความเห็นที่ 14.1.1
ความเห็นที่ 14.1.1.1
ความเห็นที่ 14.1.1.1.1
ความเห็นที่ 14.2
อีกตัวเท่าที่ดูจากลักษณะภายนอกของกระดอง กับส่วนขา ก็น่าจะเป็นปูแสมเขาใต้ Geosesarma foxi นี่แหละ
ความเห็นที่ 15
กว่างขนมลายู Allomyrina pfeifferi
ความเห็นที่ 15.1
ความเห็นที่ 15.2
ความเห็นที่ 16
พญากระรอกสีครีม ตัวนี้ออกมาหาลูกไม้กินแถวบ้านพักเลย ตัวพอๆกับพญากระรอกสีดำเลยครับ
นกเงือกปากย่น ตัวนี้ดีใจมากที่ได้พบครับ ถ่ายได้มาไม่ดีเลย
และสุดท้าย นกเงือกสุดโหลที่นี่ นกเงือกหัวแรด
ความเห็นที่ 17
ความเห็นที่ 18
ความเห็นที่ 19
ความเห็นที่ 20
ความเห็นที่ 21
ความเห็นที่ 22
เมื่อไหร่จะได้ไปกะเค้าบ้างแว๊...
ความเห็นที่ 23
เมื่อประมาณแปดเก้าปีก่อนผมได้ไปป่าบาลาสามถึงสี่ครั้ง ยังจำติดใจมิรู้ลืม ทั้งไปกับกลุ่มดูนกและกับกลุ่มสำรวจสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก-เลื้อยคลาน ที่นี่แตกต่างกับป่าใต้อื่นๆ เพราะเป็นป่าดิบอินโด-มลายันแท้ๆ นกนี่ไม่ต้องพูดถึง สวรรค์ของนักดูนกชัดๆ นกเงือกแทบจะครบชนิดในเบิร์ดไกด์ สมัยยังไม่มีกล้องดิจิตอลก็ได้แต่ดูและเก็บไว้ในความทรงจำอย่างเดียว ปาดเขียวตีนดำสวยจนทำผมแทบน้ำตาเล็ด คางคกต้นไม้ตัวเมียสุดสวย(แต่ยังไม่เคยเห็นตัวผู้ซึ่งสุดสวยกว่า) ผมยังได้ดำน้ำดูนิสัยปลาแต่ละชนิดหากินตามธารน้ำตก ได้เดินส่องหาสัตว์ยามค่ำคืน จนเมื่อมีผู้ทำให้โจรกระจอกลุกฮือ ผมก็ไม่ได้กลับไปที่นั่นอีกเลยด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัย....สำหรับผู้ที่มีหัวใจสีเขียว ไม่ได้มา "ฮาลา-บาลา" จะนอนตายตาหลับได้เยี่ยงไร ขอบคุณน้องพรุที่ช่วยนำเพื่อนเก่าๆกลับมาเยี่ยมเยือนผมอีกครั้ง ขอบคุณจากใจ รักเมืองไทยที่สุดดดดดดด
ความเห็นที่ 24