ต้นไม้ต่างถิ่นก็มีประโยชน์ต่อนกท้องถิ่นได้เหมือนกัน
เขียนโดย นณณ์ Authenticated user เมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2554
http://www.sciencedaily.com/releases/2011/02/110211095555.htm
สรุปข่าว
1. ต้น honey suckle ซึ่งเป็นพืชต่างถิ่น กลายเป็นอาหารหลักของนกท้องถิ่น ในบริเวณพื้นที่ๆธรรมชาติถูกรบกวนโดยมนุษย์
2. นกกินผลไม้มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นหลังจากมีการแพร่กระจายของพืชต่างถิ่นชนิดนี้ (ในพื้นที่ซึ่งถูกรบกวนโดยมนุษย์)
3. ผลไม้ท้องถิ่นที่ปลูกลงในแปลงใกล้ๆกับ ต้น honey suckle มีนกมาช่วยกินผลมากกว่าผลไม้ท้องถิ่นที่ปลูกอยู่ห่างจาก honey suckle ซึ่งจะทำให้สามารถแพร่กระจายได้เร็วขึ้น
อ่านข่าวนี้แล้วนึกถึง
1. ต้นตะขบซึ่งเป็นพันธุ์ไม้ต่างถิ่น ที่ขึ้นอยู่ในเมืองและชายป่าก็เป็นอาหารของสัตว์ท้องถิ่นที่ดีมาก ทั้ง กระรอก ค้างคาว และ นกต่างก็ชอบกิน
2. สัตว์ต่างถิ่นเช่นหอยเชอรี่ทำให้นกปากห่างจำนวนเพิ่มขึ้น คำถามคือปากห่างเพิ่มขึ้นมากเกินไปหรือเปล่า? และเริ่มสร้างปัญหาใหักับความสมดุลย์ของระบบนิเวศน์หรือเปล่า คือ อาหาร อาจจะกินไม่เหมือนนกชนิดอื่นๆ แต่ปัจจัยอื่นๆเช่น ที่พักนอน สถานที่ทำรัง นั้นก็ใช้ที่เีดียวกับนกน้ำใหญ่น้อยอื่นๆอยู่เหมือนกัน การที่ปากห่างมีมากเกินไป จะทำให้นกน้ำอื่นๆ มีพื้นที่ในการพักนอนหรือทำรังน้อยลงไหม????
สรุปข่าว
1. ต้น honey suckle ซึ่งเป็นพืชต่างถิ่น กลายเป็นอาหารหลักของนกท้องถิ่น ในบริเวณพื้นที่ๆธรรมชาติถูกรบกวนโดยมนุษย์
2. นกกินผลไม้มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นหลังจากมีการแพร่กระจายของพืชต่างถิ่นชนิดนี้ (ในพื้นที่ซึ่งถูกรบกวนโดยมนุษย์)
3. ผลไม้ท้องถิ่นที่ปลูกลงในแปลงใกล้ๆกับ ต้น honey suckle มีนกมาช่วยกินผลมากกว่าผลไม้ท้องถิ่นที่ปลูกอยู่ห่างจาก honey suckle ซึ่งจะทำให้สามารถแพร่กระจายได้เร็วขึ้น
อ่านข่าวนี้แล้วนึกถึง
1. ต้นตะขบซึ่งเป็นพันธุ์ไม้ต่างถิ่น ที่ขึ้นอยู่ในเมืองและชายป่าก็เป็นอาหารของสัตว์ท้องถิ่นที่ดีมาก ทั้ง กระรอก ค้างคาว และ นกต่างก็ชอบกิน
2. สัตว์ต่างถิ่นเช่นหอยเชอรี่ทำให้นกปากห่างจำนวนเพิ่มขึ้น คำถามคือปากห่างเพิ่มขึ้นมากเกินไปหรือเปล่า? และเริ่มสร้างปัญหาใหักับความสมดุลย์ของระบบนิเวศน์หรือเปล่า คือ อาหาร อาจจะกินไม่เหมือนนกชนิดอื่นๆ แต่ปัจจัยอื่นๆเช่น ที่พักนอน สถานที่ทำรัง นั้นก็ใช้ที่เีดียวกับนกน้ำใหญ่น้อยอื่นๆอยู่เหมือนกัน การที่ปากห่างมีมากเกินไป จะทำให้นกน้ำอื่นๆ มีพื้นที่ในการพักนอนหรือทำรังน้อยลงไหม????
Comments
ความเห็นที่ 1
เห็นด้วยกับการนึกถึงของคุณนณณ์
อย่างยิ่งในสถานการณ์นกปากห่างที่ตั้งพลิกตำรา Wildlife Management มาพิจารณากันมั่งแล้วมังครับ (รวมไปถึงนกพิลาบด้วยได้หรือเปล่า)
ความเห็นที่ 2
ความเห็นที่ 2.1
ความเห็นที่ 2.1.1
ความเห็นที่ 3
ความเห็นที่ 3.1
ความเห็นที่ 4
ต่างจากการแบ่งแยกหรือแตกแยกโดยมนุษย์ อิ อิ กระทรวง กรม กอง เดี๋ยวแบ่งเดี๋ยวแยก เดี๋ยวรวม เดี๋ยวยุบ ด้วยเหตุผลเพิ่อผู้มีอำนาจขณะนั้นแน่แท้ จนชาวบ้านงง ... เวลาเดือดร้อนไม่รู้จะไปขอความช่วยเหลือใคร เพราะโยนกันไปกันมา อิ อิ... เกี่ยวเปล่าเนี่ย
วงตลก วงดนตรี ก็เดี๋ยวรวมเดี๋ยวยุบ เดี๋ยวฉายเดี่ยว... วงศ์ สกุล เองก็เช่นกัน จนตูเรียกตามไม่ทัน ไม่สงสารคนสูงอายุมั่งเล้ย!
เอ รึว่าต่อไปแผ่นดินจะรวมกันอีก หรือหายเกลี้ยงเลยก็ไม่รู้ หุ หุ ... จะเป็นอย่างไรก็ช่างมันเหอะ สีทนได้ ถ้ายังไม่ตายก็จะนั่งกระดิกนิ้วเท้ามองอย่างเข้าใจ
ความเห็นที่ 5
ความเห็นที่ 6
ความเห็นที่ 7
เข้ามากด LIKE...
(ลูกปลานิลก็เป็นเหยื่อที่ใช้เลี้ยงปลากินเนื้อพันธุไทยได้ดี)