พอดีตัวนี้ไม่ได้ทำการเพาะพันธุ์เองขอรับ
(ชาวบ้านให้มา.......)
ก็เลยมาขอรบกวนพี่ๆ "กูรู" ทั้งหลายช่วยให้ความกระจ่างด้วยขอรับ
siamensis.org เป็นสังคมเครื่อข่ายความร่วมมือเกี่ยวกับการให้ข้อมูลทางด้านสิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย
Independence Non-Profit Organization Since 1999
ร่วมพัฒนาเว็บไซต์โดย โอเพ่นดรีม
Comments
ความเห็นที่ 1
ว่าจะช่วยตอบ แต่ไม่มั่นใจครับ รอเจ้าพรุดีกว่า แต่แอบคิดว่าอึ่งกรายหมอสมิทครับ
ความเห็นที่ 2
ผมมีภาพลูกอ๊อดของอึ่งกรายหมอสมิท (ยืมมาจากอินเตอร์เน็ต)...มาช่วยพิจารณาครับ
ลักษณะ ลำตัวจะโปร่งใสกว่าเยอะ
และหากเป็นลุกอ๊อดของอึ่งกรายหมอสมิท ..เมื่อพลิกตัวมองด้านท้องจะใสจนเห็นลำไส้
ความเห็นที่ 2.1
หรือว่าอึ่งกรายตาขาว ?
ไม่มั่นใจเลยครับ เพียงแต่เห็นรูปร่างแบบนี้ เลยนึกถึงกลุ่มนี้ แล้วเดาว่าเจ้าตาแดง เพราะว่าการพบเห็นตัวง่ายกว่าครับ
ความเห็นที่ 2.1.1
ความเห็นที่ 2.1.1.1
ทั้งอึ่งกรายตาขาวและอึ่งกรายตาแดง ยังไม่เคยมีรายงานอย่างเป็นทางการจากน่านเลยครับ ได้อีก 1 รายงานเลยนะครับ
ความเห็นที่ 2.1.1.1.1
ผมเมาข้อมูลเองครับ ที่ผมบอกว่ายังไม่เคยเจออึ่งกรายตาขาวที่น่าน ผมเองก็เคยเจอแต่ผมจำไม่ได้ มาปรับปรุงข้อมูล ผมเจอที่ภูคา ระดับแค่ 1200 ก็เจอแล้ว
รูปนี้ อึ่งกรายตาขาวแน่ ๆ จากอ่างกา ดอยอินทนนท์
ความเห็นที่ 3
ความเห็นที่ 4
ความเห็นที่ 5
น่ากลัวเหมือนกันนะคะ ดูๆ ไปแล้ว ^^"
ความเห็นที่ 6
ตัวแรกพวกสีดำ มีจุดแดงที่หาง
ตัวที่2 ปะปนอยู่กับพวกตัวดำ
ความเห็นที่ 7
ตัวมีจุด คือ กบเขาสูง Clinotarsus alticola
ตัวเหลือง เป็น อึ่งกรายลายเลอะ Leptobrachium smithi ครับ
ความเห็นที่ 8
ความเห็นที่ 8.1
โดยปกติ ปริมาณน้ำที่ลดลง อากาศที่ร้อนขึ้น เหมือนเป็นตัวเร่งตามธรรมชาติ ให้เขาขึ้นจากน้ำได้ไวขึ้นครับ
ความเห็นที่ 9
โอโห ลูกอ๊อดอึ่งกรายนี่ใหญ่จริงๆครับ เห็นแล้วนึกว่าลูกปลาช่อน
ความเห็นที่ 10
ความเห็นที่ 11