ไปภูหินร่องกล้า ตามที่โลงบนลานหิน แทนที่จะได้เจอเจ้าหัวจุกมากมาย แต่ไม่มีซักตัว T_T
และสุดท้าย
“อย่าให้โลกที่คุณพร่ำพูดบอกพวกเราอยู่เสมอว่านี่คือโลกกว้างใหญ่นอกกะลา
แท้จริงแล้วกลับมีโอ่งมังกรราชบุรีใบใหญ่ครอบทับโดยไม่รู้ตัว(หรือรู้แล้วแสร้งทำเป็นไม่รู้)
กะลามะพร้าวใบนิดเดียว ใช้แรงยกขึ้นและกระโดดออกมาได้ไม่ยาก
แต่โอ่งใบใหญ่ยากที่จะยกขึ้น และหลุดออกมาพบโลกที่กว้างใหญ่ที่แท้จริงได้”
เพราะถ้ายังออกมาไม่ได้ ก็อย่าเรียกตัวเองว่ากบนอกกะลา
โดนครับ ! โดนกลางใจเลย ขอบคุณยายอ้วนมากครับ มีมุมมองครบทุกประเด็นเลย แต่ผมเข้าใจน้องพิธีกรนะครับ ว่าเขาต้องทำตามที่ได้รับมอบหมายมา ซึ่งเขาอาจจะไม่รู้ข้อมูลของนกปรอดหัวโขนมากนัก แต่สำหรับผู้บริหารน่าจะมีข้อมูลพอสมควร และสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้บริหารจะต้องมีคือ "จิตสำนึก"ในการนำเสนอข้อมูลต่อสาธารณะชนที่มีทั้งด้านบวกและด้านลบ (ปล.แล้วครอบครัวสยามเอ็นสิสคิดว่ากบ....เสนอข้อมูลด้านไหนมากกว่าากันครับ)
ผมพบว่าจำนวนนกที่เลี้ยงกันนั้นพบว่านกที่มีคุณสมบัติตามที่ผู้เลี้ยงต้องการมีเพียง 30 %ของจำนวนนกทั้งหมดที่ถูกนำมาเลี้ยง ที่เหลือคือเลี้ยงไปเพราะว่า มันคือนกชนิดนี้ มันเป็นค่านิยม และ การเพาะพันธุ์นกชนิดนี้ในกรงเลี้ยง ทำได้อย่างได้ผลดีมาก บางคู่ให้ลูกนกถึง 3 รัง/ปี เฉลี่ยรังละ 2.5 ตัว แต่เนื่องจากกระบวนการตั้งแต่ลูกนกออกจากไข่จนต่อพอที่จะส่งเสียงร้องได้ตามคุณสมบัติที่ผู้เลี้ยงต้องการ นั้นกินระยะเวลายาวนานถึง 2.5 ปี ซึ่งเมื่อเทียบกับการนำนกที่ดักจับได้จากป่ามาเลี่ยง แล้วฝึกให้เชื่องจะใช้ระยะเวลาสั้นกว่าคือใช้เวลาประมาณ 0.5 ปี นกที่ดักจับมาเลี้ยงนั้นทั้งหมดถูกนำมาจากพื้นที่เหนือคอคอดกระ (ประจวบฯ) ขึ้นไปกล่าวคือ นกชนิดนี้สูยพันธุ์ไปจากธรรมชาติในภาคใต้แล้ว และที่สำคัญผู้เลี้ยงนก ถึง 80 % ไม่ได้ทำการเพาะพันธุ์นก เคยมีแนวทางการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นนี้โดยการจัดโควต้าการครอบครองนกไว้ว่าบุคคลสสามารถครองครองนกได้กี่ตัว/คน แต่แนวทางนี้จะไม่ได้ผลหากผู้เลี้ยงให้บุคคลอื่นสวมสิทธิ์การครอบครอง
นกในวงศ์ นกปรอดทั้งหมด ในภาคใต้จะเรียกว่า นกกรงนำหน้า เช่น นกกรงหัวดำ = นกปรอดเหลืองหัวจุก , นกกรงดอกแตง = นกปรอดคอลาย , นกปรอดแม่ทะ = นกกรงแม่ทะ สาเหตุเพราะว่านกชนิดนี้นิยมเลี้ยงกันมากในภาคใต้มากว่า 300 ปีแล้ว จากบันทึกของต้นตระกูลตระกูลหนึ่ง และในอดีตมันคือวิถีชีวิต แต่ต้องยอมรับว่าในปัจจุบัน มันน่าเศร้าเพราะจากวิถีชีวิตเปลี่ยนเป็นการค้า มันผิดกันที่ระบบ มันโชคร้ายที่นกชนิดนี้มาถูกนิยมในสังคมไทย เพราะสังคมไทยผิดพลาดตั้งแต่จิตสำนึก(ของผู้เลี้ยง) การรักษากฎหมาย และมาตรการอื่นๆ มันผิดทุกๆเรื่อง ไม่ใช่แค่เรื่องนก ส่วนเรื่องใบอนุญาตไม่ต้องพูดถึง 90 % เป็นนกที่ไม่ทีใบอนุญาต ทั้งนั้น มันก็เหมือนกับผู้ไม่มีใบขัขขี่แต่ขับรถกันทั้งเมือง หากสิ่งจะช่วยนกชนิดนี้ได้ผมเหก็นแต่การ รณรงค์เท่านั้น และคิดว่าน่าจะได้ผลแต่ต้องใช้เวลาและต้องได้รัลบความร่วมมือจากสังคม(เหมือนเมื่อ 20 ปีก่อนการสูบบุหรี่เป็นสิ่งที่ทำได้เสรี แต่ปัจจุบันการสูบบุหรี่เป็นสิ่งที่น่ารังเกียจ จากความสำเร็จของ การสร้างมาตรการจากสังคม) แต่ในเมื่อเรื่องของนกยังเป็นเรื่องของนักอนุรักษ์ กับนักเลี้ยงนก สุดท้าย นักเลี้ยงนกย่อมมีจำนวนมากกว่านักอนุรักษ์ สุดท้ายเลยไม่รู้ว่า บางทีกว่าการรณรรงค์จะสำเร็จ กระแสการเลี้ยงนกชนิดนี้ก็อาจตกไป เหลือแต่ว่านกชนิดใดจะเป็นผู้โชคร้ายรายต่อไป กางเขนดง หรือเขียวก้านตอง หรือ กะรางคอดำ สุดท้ายขอให้กำลังใจทุกๆท่านที่รักธรรมชาติแลเป็นห่วงสังคม ดีเสียกว่าเราไม่ได้ร่วมมือกันกระทำการอย่างใดเลย ใช่มั้ย
นึกถึงปรอทแม่ทะแล้ว ใจหาย ว่าหายไปหมดแล้ว
Comments
ความเห็นที่ 1
ความเห็นที่ 2
ความเห็นที่ 3
ไปภูหินร่องกล้า ตามที่โลงบนลานหิน แทนที่จะได้เจอเจ้าหัวจุกมากมาย แต่ไม่มีซักตัว T_T
ความเห็นที่ 3.1
ความเห็นที่ 4
ความเห็นที่ 5
ความเห็นที่ 6
ความเห็นที่ 7
แต่เจอกระทู้นี้แล้วฝากไว้ด้วยแล้วกันค่ะ
ยายอ้วนเขียนเอง อาจมีคำผิด หรือประโยคที่ยังไม่สละสลวยนัก
(แถมยังแก้ไม่ได้ด้วย -___-'')
http://www.facebook.com/profile.php?id=633127213#!/notes/porpla-wannobon/%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%96%E0%B8%B6%E0%B8%87-%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AD%EF%BF%BD/10150097629332227
ความเห็นที่ 7.1
ความเห็นที่ 7.1.1
เดี๋ยวว่างๆ พี่จะเอาลงในส่วนบทความให้อ่านแล้วกันนะ
อ้อ หรือไปอ่านที่พันทิปละกัน
http://www.pantip.com/cafe/blueplanet/topic/E10304089/E10304089.html
ความเห็นที่ 7.1.1.1
ความเห็นที่ 8
และสุดท้าย
“อย่าให้โลกที่คุณพร่ำพูดบอกพวกเราอยู่เสมอว่านี่คือโลกกว้างใหญ่นอกกะลา
แท้จริงแล้วกลับมีโอ่งมังกรราชบุรีใบใหญ่ครอบทับโดยไม่รู้ตัว(หรือรู้แล้วแสร้งทำเป็นไม่รู้)
กะลามะพร้าวใบนิดเดียว ใช้แรงยกขึ้นและกระโดดออกมาได้ไม่ยาก
แต่โอ่งใบใหญ่ยากที่จะยกขึ้น และหลุดออกมาพบโลกที่กว้างใหญ่ที่แท้จริงได้”
โดนครับ ! โดนกลางใจเลย ขอบคุณยายอ้วนมากครับ มีมุมมองครบทุกประเด็นเลย แต่ผมเข้าใจน้องพิธีกรนะครับ ว่าเขาต้องทำตามที่ได้รับมอบหมายมา ซึ่งเขาอาจจะไม่รู้ข้อมูลของนกปรอดหัวโขนมากนัก แต่สำหรับผู้บริหารน่าจะมีข้อมูลพอสมควร และสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้บริหารจะต้องมีคือ "จิตสำนึก"ในการนำเสนอข้อมูลต่อสาธารณะชนที่มีทั้งด้านบวกและด้านลบ (ปล.แล้วครอบครัวสยามเอ็นสิสคิดว่ากบ....เสนอข้อมูลด้านไหนมากกว่าากันครับ)
ความเห็นที่ 9
ความเห็นที่ 10
ความเห็นที่ 11
ผมพบว่าจำนวนนกที่เลี้ยงกันนั้นพบว่านกที่มีคุณสมบัติตามที่ผู้เลี้ยงต้องการมีเพียง 30 %ของจำนวนนกทั้งหมดที่ถูกนำมาเลี้ยง ที่เหลือคือเลี้ยงไปเพราะว่า มันคือนกชนิดนี้ มันเป็นค่านิยม
และ การเพาะพันธุ์นกชนิดนี้ในกรงเลี้ยง ทำได้อย่างได้ผลดีมาก บางคู่ให้ลูกนกถึง 3 รัง/ปี เฉลี่ยรังละ 2.5 ตัว แต่เนื่องจากกระบวนการตั้งแต่ลูกนกออกจากไข่จนต่อพอที่จะส่งเสียงร้องได้ตามคุณสมบัติที่ผู้เลี้ยงต้องการ นั้นกินระยะเวลายาวนานถึง 2.5 ปี ซึ่งเมื่อเทียบกับการนำนกที่ดักจับได้จากป่ามาเลี่ยง แล้วฝึกให้เชื่องจะใช้ระยะเวลาสั้นกว่าคือใช้เวลาประมาณ 0.5 ปี นกที่ดักจับมาเลี้ยงนั้นทั้งหมดถูกนำมาจากพื้นที่เหนือคอคอดกระ (ประจวบฯ) ขึ้นไปกล่าวคือ นกชนิดนี้สูยพันธุ์ไปจากธรรมชาติในภาคใต้แล้ว และที่สำคัญผู้เลี้ยงนก ถึง 80 % ไม่ได้ทำการเพาะพันธุ์นก เคยมีแนวทางการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นนี้โดยการจัดโควต้าการครอบครองนกไว้ว่าบุคคลสสามารถครองครองนกได้กี่ตัว/คน แต่แนวทางนี้จะไม่ได้ผลหากผู้เลี้ยงให้บุคคลอื่นสวมสิทธิ์การครอบครอง
ความเห็นที่ 12
นกในวงศ์ นกปรอดทั้งหมด ในภาคใต้จะเรียกว่า นกกรงนำหน้า เช่น นกกรงหัวดำ = นกปรอดเหลืองหัวจุก , นกกรงดอกแตง = นกปรอดคอลาย , นกปรอดแม่ทะ = นกกรงแม่ทะ สาเหตุเพราะว่านกชนิดนี้นิยมเลี้ยงกันมากในภาคใต้มากว่า 300 ปีแล้ว จากบันทึกของต้นตระกูลตระกูลหนึ่ง และในอดีตมันคือวิถีชีวิต แต่ต้องยอมรับว่าในปัจจุบัน มันน่าเศร้าเพราะจากวิถีชีวิตเปลี่ยนเป็นการค้า มันผิดกันที่ระบบ มันโชคร้ายที่นกชนิดนี้มาถูกนิยมในสังคมไทย เพราะสังคมไทยผิดพลาดตั้งแต่จิตสำนึก(ของผู้เลี้ยง) การรักษากฎหมาย และมาตรการอื่นๆ มันผิดทุกๆเรื่อง ไม่ใช่แค่เรื่องนก ส่วนเรื่องใบอนุญาตไม่ต้องพูดถึง 90 % เป็นนกที่ไม่ทีใบอนุญาต ทั้งนั้น มันก็เหมือนกับผู้ไม่มีใบขัขขี่แต่ขับรถกันทั้งเมือง หากสิ่งจะช่วยนกชนิดนี้ได้ผมเหก็นแต่การ รณรงค์เท่านั้น และคิดว่าน่าจะได้ผลแต่ต้องใช้เวลาและต้องได้รัลบความร่วมมือจากสังคม(เหมือนเมื่อ 20 ปีก่อนการสูบบุหรี่เป็นสิ่งที่ทำได้เสรี แต่ปัจจุบันการสูบบุหรี่เป็นสิ่งที่น่ารังเกียจ จากความสำเร็จของ การสร้างมาตรการจากสังคม) แต่ในเมื่อเรื่องของนกยังเป็นเรื่องของนักอนุรักษ์ กับนักเลี้ยงนก สุดท้าย นักเลี้ยงนกย่อมมีจำนวนมากกว่านักอนุรักษ์ สุดท้ายเลยไม่รู้ว่า บางทีกว่าการรณรรงค์จะสำเร็จ กระแสการเลี้ยงนกชนิดนี้ก็อาจตกไป เหลือแต่ว่านกชนิดใดจะเป็นผู้โชคร้ายรายต่อไป กางเขนดง หรือเขียวก้านตอง หรือ กะรางคอดำ สุดท้ายขอให้กำลังใจทุกๆท่านที่รักธรรมชาติแลเป็นห่วงสังคม ดีเสียกว่าเราไม่ได้ร่วมมือกันกระทำการอย่างใดเลย ใช่มั้ย
ความเห็นที่ 13
นึกถึงปรอทแม่ทะแล้ว ใจหาย ว่าหายไปหมดแล้ว
ความเห็นที่ 13.1
ความเห็นที่ 14
ความเห็นที่ 15