ที่อเมริกาจัดหน่วยกำจัดบลูฟ๊อก โดยตรงทั้งฉมวก ทั้งตาข่าย ยังเอาไม่อยู่ ตอนหลังใช้ปีนลมติดกล้อง และก็กำจัดไข่ของบูลฟ๊อก ยังเอาไม่ค่อยอยู่ แล้วบ้านเรา.........
ขาพอๆกับกับผู้ล่าเลยไม่ทราบว่าผู้ล่าตัวเล็ก หรือเหยื่อตัวใหญ่
ตัวที่จั่วหัวกระทู้นี่เป็นอเมริกันบลูฟรอกครับ มีภาพมาให้เปรียบเทียบ ภาพจาก siamreptile.com ครับโดยลักษณะที่แตกต่าง คือ ขนาด และลักษณะของร่างกายครับ อเมริกัน จะเพียวกว่า ส่วนคอและหัวจะยาวกว่า แล้วก็สีของผิวหนัง(แต่อันนี้ไม่ค่อยแนะนำครับ)ของแอฟริกันจะมีโทนสีน้ำตาลออกเหลือง ของอเมริกันจะออกโทนสีเขียวแล้วไล่โทนสีไปเหลืองที่ลำตัวช่วงล่างครับ แอฟริกันตัวจะใหญ่กว่าอเมริกันมากครับ อเมริกันจะใหญ่กว่ากบนาบ้านเราหน่อยนึงครับ
เทียบกับคางคกอ้อยแล้ว ผมว่าบุลฟรอกยังจัดการง่ายกว่า เพราะอย่างน้อยคนและสัตว์หลายชนิดก็บริโภคมันได้
ล่าสุดวันนี้ ไปเจอที่น้ำตกจำลอง สวนหลวง ร.๙ บ่อเดียวเจอไปสี่ตัว ตอนนี้มันระบาดหรือยังครับ และเพื่อสัตว์ท้องถิ่นชนิดอื่น ควรแจ้งให้ทางสวนทราบแล้วให้ยามจับกินหรือไม่ครับขอความเห็นครับขอบคุณรูป จากคุณจรัล จาก thaibirder ครับ
อยู่ที่จิตสำนึกของแต่ละคนครับว่าจะเลี้ยงแบบไหนถ้าเลี้ยงตามกระแสก็น่ากลัวครับเพราะเห็นกันเกลื่อนครับไม่เฉพาะบูลฟร็อกอีกัวน่าเอยนกสวยงามบางชนิดเอยที่ตกเป็นจำเลยเพราะคนมักง่ายบางคนก็อย่างว่าละครับคนไทยใจบุญครับเมืองนอกบางประเทศทำลายเลยครับไม่เอาไว้ครับหากเบื่อที่จะเลี้ยงก็จะมีหน่วยงานมารับไปครับเอเลี่ยนก็จริงครับแต่สังคมสมัยนี้โลกาภิวัตน์ยุคไร้พรมแดนลองเข้าไปดูที่โครงการในพระราชดำริของในหลวงที่ห้วยห้องไคร้หรือห้วยทรายดูครับจะมีรายละเอียดของบูลฟร็อกครับโครงการดีๆหลายอย่างที่คนไทยไม่ค่อยจะเหลียวแลมีแต่โทษชะตากรรมของตนที่เกิดมา(จน)แม่ให้เราเกิดมาในโลกนี้ก็บุญถมเถไปแล้วอยู่ที่สองมือสองขาและจิตสำนึกของตัวเราที่จะกำหนดชะตาของตัวเราเองว่าจะเป็นแบบไหนมนุษย์ต่างกับสัตว์ที่กำหนดชะตาตัวเองได้ก็เหมือนจำเลยอย่างบูลฟร็อกครับอยู่ที่จิตสำนึกของมนุษย์เอง(12 สิงหาคม)ขอให้แม่ทุกคนมีความสุขครับ
Comments
ความเห็นที่ 1
ความเห็นที่ 2
ความเห็นที่ 2.1
หรือว่ามันไปอยู่ผิดมลรัฐ...
ความเห็นที่ 2.1.1
ความเห็นที่ 3
ความเห็นที่ 4
ที่อเมริกาจัดหน่วยกำจัดบลูฟ๊อก โดยตรงทั้งฉมวก ทั้งตาข่าย ยังเอาไม่อยู่ ตอนหลังใช้ปีนลมติดกล้อง และก็กำจัดไข่ของบูลฟ๊อก ยังเอาไม่ค่อยอยู่ แล้วบ้านเรา.........
ความเห็นที่ 5
ความเห็นที่ 6
ความเห็นที่ 7
ความเห็นที่ 7.1
ความเห็นที่ 8
ความเห็นที่ 8.1
ความเห็นที่ 9
ความเห็นที่ 10
ความเห็นที่ 11
ความเห็นที่ 11.1
ขาพอๆกับกับผู้ล่าเลย
ไม่ทราบว่าผู้ล่าตัวเล็ก หรือเหยื่อตัวใหญ่
ความเห็นที่ 12
ความเห็นที่ 13
ความเห็นที่ 14
"กบนี้ตัวใหญ่มากสามารถกินอาหารได้วันละครึ่งกิโล และกินสัตว์เล็กทุกชนิดเป็นอาหาร พวกที่นำเข้าเห็นแก่ตัวมากเพราะมันสามารถออกลูกได้เป็นหมื่นๆตัวภายในหนึ่งปี ทางอเมริกาไม่นิยมกินเสียด้วยสิ นอกจากพวกคนลาวหรือเขมรจะนำไปกินหรือซื้อไปให้งูเหลือมกิน ทางอเมริกาไม่ค่อยมีปัญหาเพราะอากาศส่วนมากหนาวกบจะจำศีล แต่ทางเมืองไทยอากาศร้อนเหมาะแก่การแพร่พันธุ์ ตอนเมื่อสิบกว่าปีที่แล้วได้มีการนำเข้ามาในเมืองไทยซึ่งตอนนั้นมีกบอยู่อยู่หลายพันธุ์ซึ่งตัวใหญ่ๆทั้งนั้น ทั้งที่มาจากอเมริการใต้และจากอเมริกาโดยตรง ตอนนั้นผมนึกอยู่แล้วว่าจะต้องมีปัญหาเหมือนปลาช่อนอเมซอนซึ่งจะกินทุกอย่างที่ขวางหน้ารวมทั้งเรดเทลแคทฟิชพวกนี้กินได้ทั้งวัน เมื่อไม่กี่ปีผมเคยเห็นลงข่าวว่ามีฟาร์มกบชนิดนี้อยู่ในเมืองไทยด้วยนะครับ และมันสามารถผสมกับกบพื้นบ้านเราเพื่อปรับสภาพความอยู่รอด ต่อไปอาจจะไม่มีกบไทยแท้ๆก็ได้ น่าเห็นใจพวกหลาน เหลนในอนาคต ว่าจะเห็นแต่รูปกบไทยในหนังสือเท่านั้น เมืองไทยน้ำท่วมบ่อยคิดว่าป่านนี้คงกระจายไปทั่วประเทศแล้วครับ"
ความเห็นที่ 15
ความเห็นที่ 16
กบที่มีชื่อเรียกว่า บุลฟรอก มีสองประเภทนะครับ
ความเห็นที่ 16.1
ตัวที่จั่วหัวกระทู้นี่เป็นอเมริกันบลูฟรอกครับ มีภาพมาให้เปรียบเทียบ ภาพจาก siamreptile.com ครับ
โดยลักษณะที่แตกต่าง คือ ขนาด และลักษณะของร่างกายครับ อเมริกัน จะเพียวกว่า ส่วนคอและหัวจะยาวกว่า แล้วก็สีของผิวหนัง(แต่อันนี้ไม่ค่อยแนะนำครับ)ของแอฟริกันจะมีโทนสีน้ำตาลออกเหลือง ของอเมริกันจะออกโทนสีเขียวแล้วไล่โทนสีไปเหลืองที่ลำตัวช่วงล่างครับ แอฟริกันตัวจะใหญ่กว่าอเมริกันมากครับ อเมริกันจะใหญ่กว่ากบนาบ้านเราหน่อยนึงครับ
ความเห็นที่ 16.1.1
ความเห็นที่ 17
ความเห็นที่ 17.1
ความเห็นที่ 17.2
ว่าแต่มันสืบพันธุ์ได้ไหมครับ? เคยได้ยินมาเหมือนกันว่าเค้าผสมเพื่อให้ได้เนื้อมากแบบบุลฟร็อก และมีคุณภาพเนื้อดีคล้ายกบนาไทย
ความเห็นที่ 17.2.1
ความเห็นที่ 18
เทียบกับคางคกอ้อยแล้ว ผมว่าบุลฟรอกยังจัดการง่ายกว่า เพราะอย่างน้อยคนและสัตว์หลายชนิดก็บริโภคมันได้
ความเห็นที่ 19
ความเห็นที่ 20
ล่าสุดวันนี้ ไปเจอที่น้ำตกจำลอง สวนหลวง ร.๙ บ่อเดียวเจอไปสี่ตัว
ตอนนี้มันระบาดหรือยังครับ และเพื่อสัตว์ท้องถิ่นชนิดอื่น ควรแจ้งให้ทางสวนทราบแล้วให้ยามจับกินหรือไม่ครับ
ขอความเห็นครับ
ขอบคุณรูป จากคุณจรัล จาก thaibirder ครับ
ความเห็นที่ 20.1
ความเห็นที่ 21
ตัวที่ 10 ครับ
ความเห็นที่ 22
อยู่ที่จิตสำนึกของแต่ละคนครับว่าจะเลี้ยงแบบไหนถ้าเลี้ยงตามกระแสก็น่ากลัวครับเพราะเห็นกันเกลื่อนครับไม่เฉพาะบูลฟร็อกอีกัวน่าเอยนกสวยงามบางชนิดเอยที่ตกเป็นจำเลยเพราะคนมักง่ายบางคนก็อย่างว่าละครับคนไทยใจบุญครับเมืองนอกบางประเทศทำลายเลยครับไม่เอาไว้ครับหากเบื่อที่จะเลี้ยงก็จะมีหน่วยงานมารับไปครับเอเลี่ยนก็จริงครับแต่สังคมสมัยนี้โลกาภิวัตน์ยุคไร้พรมแดนลองเข้าไปดูที่โครงการในพระราชดำริของในหลวงที่ห้วยห้องไคร้หรือห้วยทรายดูครับจะมีรายละเอียดของบูลฟร็อกครับโครงการดีๆหลายอย่างที่คนไทยไม่ค่อยจะเหลียวแลมีแต่โทษชะตากรรมของตนที่เกิดมา(จน)แม่ให้เราเกิดมาในโลกนี้ก็บุญถมเถไปแล้วอยู่ที่สองมือสองขาและจิตสำนึกของตัวเราที่จะกำหนดชะตาของตัวเราเองว่าจะเป็นแบบไหนมนุษย์ต่างกับสัตว์ที่กำหนดชะตาตัวเองได้ก็เหมือนจำเลยอย่างบูลฟร็อกครับอยู่ที่จิตสำนึกของมนุษย์เอง(12 สิงหาคม)ขอให้แม่ทุกคนมีความสุขครับ