แดนประจิมทิศ ณ ต้นฝน
เขียนโดย kroolek Authenticated user เมื่อ 11 พฤษภาคม 2554
ส่องปลา(@ siamensis) อยากจะมาบ้านแพ้ว สมุทรสาคร เราตอบตกลงทันที เขาบอกว่าก่อนเปิดเทอมขอจัดหนักหน่อยต้องการพบกับวงศ์แมลงปอเสือ และแมลงปอยักษ์ แต่วันนี้ครูเล็กตรวจสอบกับอุตุนิยมวิทยาแล้วเห็นว่า ราชบุรีจังหวัดชายแดนไทยด้านประจิมทิศ ไม่มีรายงานฝนมาตั้งแต่เมื่อวาน เช้านี้แดดแจ่มเลยจัดไปราชบุรีแทนบ้านแพ้วซะเลย
Comments
ความเห็นที่ 1
ความเห็นที่ 1.1
ตัวล่างสุด ชื่อวิทย์ว่า Tetracanthagyna waterhousei ครับ ตัวนี้แจ่มมากๆๆๆๆๆๆ
ความเห็นที่ 1.1.1
ความเห็นที่ 1.1.1.1
ความเห็นที่ 1.1.1.1.1
ความเห็นที่ 2
ความเห็นที่ 2.1
ความเห็นที่ 2.2
ตัวล่างก็มีสิทธิ์เป็น Heliogomphus selysi นะครับ มันออกบินช่วงนี้พอดี
ความเห็นที่ 2.2.1
ความเห็นที่ 2.2.1.1
อ่าาา มันมีอีก
ความเห็นที่ 2.2.1.1.1
ความเห็นที่ 3
ความเห็นที่ 4
ความเห็นที่ 5
ความเห็นที่ 5.1
ความเห็นที่ 6
ความเห็นที่ 6.1
ความเห็นที่ 6.1.1
ความเห็นที่ 7
ความเห็นที่ 8
ความเห็นที่ 9
ความเห็นที่ 10
ความเห็นที่ 10.1
ความเห็นที่ 11
ความเห็นที่ 11.1
ความเห็นที่ 11.1.1
ความเห็นที่ 12
ความเห็นที่ 13
ความเห็นที่ 14
ความเห็นที่ 14.1
พอฝนตก มันก็พัดพาเอาไข่หรือตัวอ่อนลงไปในน้ำไงพี่ ^^
ความเห็นที่ 15
ความเห็นที่ 15.1
ฝนตกไม่ตก...ลูกก็ไม่เกิดครับ แต่แมลงปอพวกวางไข่แบบนี้ (วางไข่บนกิ่งไม้เหนือแหล่งน้ำหรือด้านข้างแหล่งน้ำที่ห่างหรือสูง 1-3 เมตร หรือวางบนมอสที่ขึ้นบนบ่อน้ำที่ทำจากปูน) มักจะวางช่วงฤดูฝนครับ แต่มันรู้ได้ยังไงว่าต้องวางช่วงไหนของฤดูนี้ ... ผมก็ยังไม่รู้คำตอบครับ
ความเห็นที่ 16
ความเห็นที่ 16.1
ถ้าไม่นับโดนจับกินหรือเป็นโรคอะไร เท่าที่อ่านมาก็ยังมีชีวิตอยู่ ซึ่งจะสีสันจะเปลี่ยนแปลงกลายเป็นสีที่ทึมขึ้น มีการสร้างขนขาวหรือฟ้า (pruinosed) ขึ้นมาปกคลุมอย่างที่เราเห็นกัน แมลงปอที่มีชีวิตหลังจากผสมพันธุ์แล้ว (เราเรียกว่า มันแก่แล้ว) จะมีระยะเวลาการอยุ่รอดแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดและพื้นที่ที่อยู่ครับ ซึ่งในช่วงนี้อวัยวะสืบพันธุ์จะเสื่อมลงครับ
ความเห็นที่ 17