พาเที่ยวสะพานปลาระนอง
เขียนโดย knotsnake Authenticated user เมื่อ 7 มิถุนายน 2554
ที่จริงตามงานแล้วต้องไปเหล่ๆปลาฉลาม แต่เกรงว่าจะกระทบเรื่องงาน(ตามสายบังคับบัญชา)เลยประเดิมด้วยของหวานของดิวน้อง ก่อนเชิญไปอยู่ใน SI
Praescutata viperina (สกุลเดิม Thalassophina) ลักษณะที่ใช้จำแนกคือเกล็ดท้องช่วงคอกว้างมาก(คล้ายๆงูบก) แต่เกล็ดท้องส่วนอื่นจะเล็กแบบงูทะเลทั่วๆไป
Praescutata viperina (สกุลเดิม Thalassophina) ลักษณะที่ใช้จำแนกคือเกล็ดท้องช่วงคอกว้างมาก(คล้ายๆงูบก) แต่เกล็ดท้องส่วนอื่นจะเล็กแบบงูทะเลทั่วๆไป
Comments
ความเห็นที่ 1
ความเห็นที่ 2
ความเห็นที่ 3
ความเห็นที่ 3.1
ความเห็นที่ 4
ลป. ลืมชื่อสกุลใหม่ของมัน เลยขอใส่สกุลนี้ไปก่อน
ความเห็นที่ 5
อีกชนิดที่เห็นแล้วลืมถ่ายภาพไว้คือ Hydrophis cyancinctus ยังนึกไม่ออกว่าทำไมถึงลืม
ความเห็นที่ 6
ความเห็นที่ 7
Palinustus waguensis เป็นชนิดที่เคยมีรายงานในไทยแล้ว แต่ก็ยังงงๆกับภาพลายเส้นว่ามันวาดมั่วหรือเปล่า เพราะลักษณะหนามที่ใช้จำแนกมันไม่เหมือนนัก และขาก็ดูแปลกๆ แต่เอาเหอะ ยอมเชื่อเขาไปก่อน ไว้เจอ original description เมื่อไหร่ค่อยว่ากันอีกที
ความเห็นที่ 8
ความเห็นที่ 9
ความเห็นที่ 10
ความเห็นที่ 10.1
ปล. พึ่งรู้ว่าแต่ก่อนเด็กประมงเรียนว่ายน้ำในบ่อดินด้วย ^___^
ความเห็นที่ 10.2
ความเห็นที่ 10.2.1
ความเห็นที่ 11
ความเห็นที่ 11.1
ส่วนตัวแรกเนี่ยน่าจะได้จากทะเลสาบสงขลาตอนใน Enhydrina chistosa ครับ (ถ้าถ่ยหัวชัดๆจะแจ่ม เพราะลักษณะจำแนกอยู่ที่จงอยปากครับ)
ความเห็นที่ 12
ละลานตามากเลยขอรับ
ความเห็นที่ 13
ความเห็นที่ 13.1
ความเห็นที่ 14
ไม่นึกจะหลงเหลือมาลงที่สะพานปลาด้วย น่าสนใจดีแฮะ
ความเห็นที่ 14.1
ความเห็นที่ 15
ความเห็นที่ 16
ความเห็นที่ 16.1
ความเห็นที่ 16.1.1
ความเห็นที่ 16.1.1.1
ความเห็นที่ 16.1.1.1.1
ความเห็นที่ 16.1.1.1.1.1
ความเห็นที่ 16.1.1.1.2
ความเห็นที่ 17
ความเห็นที่ 18
ความเห็นที่ 19
ส่วน Hydrophis brookii ก็ฝักมะรุม สิ
ความเห็นที่ 19.1
ความเห็นที่ 20
ความเห็นที่ 21
ความเห็นที่ 21.1
ความเห็นที่ 21.1.1
ความเห็นที่ 22
ความเห็นที่ 22.1
ความเห็นที่ 23
ปลาตะลุมพุก หรือปลาหลุมพุก (Hilsa illisha) เป็นปลาที่เนื้อนุ่มมาก มีไขมันแทรกในเนื้อมากมายโดยเฉพาะราวท้อง แม้จะมีก้างฝอยมากมาย แต่หาใช่ปัญหาในการกินไม่ ขนาดที่เริ่มอร่อยจะตั้งมีน้ำหนักประมาณ ๑ กิโลกรัมขึ้นไป ถ้าตัวเล็กกว่านี้ ราคาจะถูกลงเหมือนมาคนละทางกันเลย ปลาชนิดนี้ยิ่งใหญ่ก็ยิ่งมีราคาต่อหน่วยแพงขึ้นเช่นกัน หากใครมาระนองแล้วไม่ได้กินปลาตะลุมพุกต้มหวาน นับว่ายังไม่ถึงระนอง
ความเห็นที่ 23.1
ความเห็นที่ 24
ความเห็นที่ 25
ความเห็นที่ 25.1
ความเห็นที่ 26
มีข้อสงสัยอีกอย่างครับ
งูทะเลที่เป็นแบบหัวโต ใช้วิธีงับเหยื่อ แล้วปล่อยพิษ ให้เหยื่อตาย
หรืองับแล้วกลืนเลยครับ
ความเห็นที่ 26.1
ความเห็นที่ 27
ชอบๆ กด like 100000 ที ถูกสเปคหัวงูที่สุด ว่าแต่ว่า มีเบอร์ไม้ล่ะ!!!!??????
ความเห็นที่ 27.1
โชว์เบอร์ที่ไมค์แล้วครับ
นี่ขนาดเห็นแค่เบลอยังเป็นขนาดนี้ ถ้าเจอทั้งตัวสงสัย..
ความเห็นที่ 28
ความเห็นที่ 29
ความเห็นที่ 30
ปล. ถ้าผมระบุชื่อผิดก็รบกวนแก้ไขให้ด้วยนะขอรับ
ความเห็นที่ 31
ความเห็นที่ 31.1
ตอนผมรื้อในตะกร้ายังต้องคอยระวังเหมือนกันครับ โดยการจับที่ตัวงูแล้วยกมาพาดขอบตะกร้าเรื่อยๆ ถ้าเอามือแหวกไปเลยก็จะเสี่ยงเกินไปกับความผิดพลาดโดยปราศจากเซรุ่ม
ความเห็นที่ 32
Himantura undulata
Himantura leoparda
ความเห็นที่ 33
ความเห็นที่ 34
#22 Leptomelanosoma indica ทำข้าวต้ม เกาเหลา อร่อยนักแล
#25 Epinephelus flavocaeruleus หายากโคตรในไทย แต่ common ใน Japan
ความเห็นที่ 34.1
ความเห็นที่ 35
ความเห็นที่ 36
ความเห็นที่ 37
กระทู้จัดเต็มแบบนี้ไม่เจอมานานแล้ว ดีใจจัง
ความเห็นที่ 38
ความเห็นที่ 38.1
ความเห็นที่ 39
ความเห็นที่ 40
ส่วนเรื่องป้องกันตัวนั้น เท่าที่สังเกต(จากสารคดี) งูทะเลหลายชนิดพอถูกคนหรือเหยี่ยวจับขึ้นจากน้ำเมื่อไหร่ มันก็มักจะตัวพับตัวอ่อน หันกลับมาแว้งกัดศัตรูก็แทบไม่ได้เลย พิษแรงๆก็ดูเหมือนจะไม่ได้ช่วยมันมากนัก
ความเห็นที่ 41
ที่มันต้องมีพิษแรงเพราะ เขี้ยวพิษมันเล็กมาก เวลากัดในน้ำก็มีโอกาสเจือจางลงไปอีก แล้วยิ่งพวกลงรูปลาไหลนั้นต้องออกแรงมากหากต้องสู้กันซึ่งๆหน้า เพราะปลาไหลส่วนใหญ่แข็งแรงมาก ดังนั้นจึงเพิ่มประสิทธิภาพของพิษเพื่อแก้ปัญหาข้างต้น คือถ้าเหยื่อได้รับพิษที่แม้เจอจางแล้ว แต่ก็ยังคงประสิทธิภาพในการยับยั้งเหยื่อได้อย่างสบายๆกระมังครับ