Globba ranongensis
เขียนโดย knotsnake Authenticated user เมื่อ 3 กรกฎาคม 2554
ไหนๆมีคนใจดีส่งเปเปอร์หงส์เหินเฉพาะถิ่นนาม ranongensis มาให้ พอเห็นภาพปุ๊บก็นึกออกทันทีว่าเป็นหินก้อนไหน ก็เลยตามไปดูซะหน่อย โดยไปดูก้อนที่ใกล้ๆก่อน ก็เจอตามคาด ส่วนก้อนในเอกสารก็ไม่ได้ไปดู พบว่าช่วงนี้เริ่มแทงดอก ยังไม่มีที่บานเลย คงรอเจ้าแม่มายลอีกสักครั้ง
Comments
ความเห็นที่ 1
ความเห็นที่ 2
ความเห็นที่ 3
Globba ranongana หละครับ
เพราะ ตามหลักไวยากรณ์ละติน ควรจะใช้ตามประเพณี ที่เคยมีมาเพราะก่อนหน้านี้มี Conus ranonganus แล้ว
น่าจะใข้แบบเดิมนะครับ
อีกอย่างเสียงลงตามท่วงทำนองสัมผัส ส่วนตัวรู้สึกว่าฟังดูระรื่นหูมากกว่าครับ
ICBN & ICZN กัดกร่อนความงามทางภาษาละตินไปเยอะจริงๆครับ
ความเห็นที่ 3.1
Neither “ranongensis” nor “ranonganus” are true Latin words, in the real Latin language these adjectives never existed. There are several ways to derive a latinized adjective from the non-Latin word “Ranong”, ranongensis, ranonganus, even ranongalis or ranongosus would be theoretically possible. The author of a new species is at liberty to choose any such form. Subsequently a once published name must be accepted by all others.
In fact, I can find only one species called “ranonganus” (Conus), but very many called ranongensis (Neocallichius, Callinassa, Candida, Paduniella, Dalsiella, Speocera to name only a few…)
Erwin
ความเห็นที่ 4
ความจริงบนหินนี่ถ้าดูแป๊บเดียว จะคิดว่าเป็นเปราะหินด้วยซ้ำ (ดูซิสกิลต่ำเชียว เอิ้กๆ)
ความเห็นที่ 5
ความเห็นที่ 6
ความเห็นที่ 7
ความเห็นที่ 8