ของฝากเล็กๆน้อยๆจากไทรโยค...ครับ...!!
เขียนโดย heinetonk Authenticated user เมื่อ 20 กรกฎาคม 2554
ไม่ได้เข้ามาโพสต์เสียนานเลยครับ...กับบ้าน siamensis หลังนี้...คราวนี้เพิ่งจะได้มีโอกาสมาสัมผัสกับไทรโยคแบบจริงจังๆ เพราะเมื่อก่อน...มากี่ที...ก็ผ่านไปสังขละ...ไปทองผาภูมิเสียหมด...คราวนี้สบโอกาส...จึงได้มีของฝาก...มาฝากนิดหน่อยครับ...
Comments
ความเห็นที่ 1
ความเห็นที่ 2
ความเห็นที่ 2.1
ความเห็นที่ 3
ความเห็นที่ 3.1
ความเห็นที่ 4
เต่าเหลือง...ครับ....เต่าบกที่เจอได้เยอะมากๆ ที่ไทรโยคนี้
ความเห็นที่ 5
ความเห็นที่ 6
ความเห็นที่ 6.1
ความเห็นที่ 7
วัตถุประสงค์ที่มาเยี่ยมเยือนไทรโยคในคราวนี้...คือการมาสำรวจสัตว์ฟันแทะจำพวกหนูในพื้นที่ครับ...ซึ่งพบหนูทั่วไปดังนี้....(ไม่มีรูปครับ...ให้ข้อมูลได้อย่างเดียว)....หนูพุกเล็ก (Bandicota savilei), หนูหริ่งป่า (Mus cookii), หนูหริ่งนาหางสั้น (Mus cervicolor), หนูหริ่งนาหางยาว (Mus caroli), หนูท้องขาว (Rattus tanezumi), หนูจี๊ด (Rattus exulans), หนูฟานเหลือง (Maxomys surifer) นอกจากนี้ยังมีพวก rodent และ small mammals อื่นๆ อีก เช่น กระรอกหลากสี (Callosciurus finlaysoni), กระรอกจ้อน (Menetes berdmorei), กระเล็นขนปลายหูสั้น (Tamiops mcclellandi), เม่นหางพวง (Atherurus macrourus), กระต่ายป่า:Hare (Lepus sp) และพังพอนธรรมดา (Herpestes javanicus) เป็นต้น....
ความเห็นที่ 8
ความเห็นที่ 8.1
แต่ตรงกันข้าม แถวบ้านผมเค้ากินหนูกัน แต่ไม่กินค้างคาว เหตุผล? ไม่รู้เหมือนกันแฮะ
ส่วนงานวิจัยเกี่ยวกับ bat desease เมืองไทยมีทำไม่น้อยและพบเชื้อมิใช่น้อยเช่นกันครับ แต่เค้าแอบให้เหตุผลว่ายังไม่พร้อมจะประกาศในวงกว้าง กลัวแตกตื่นและส่งผลทางลบ
ความเห็นที่ 8.1.1
ความเห็นที่ 8.1.2
เพราะแถวบ้านเราหนูยังหาได้ง่ายกว่าค้างคาวไง
ความเห็นที่ 9
ขอบคุณไทรโยคอีกครั้ง...โอกาสหน้าจะกลับมาเยี่ยมเยือนใหม่...ครับ...!!
ความเห็นที่ 10
หนูไง
ความเห็นที่ 11
ความเห็นที่ 11.1
55...ใช่แล้วครับ...หนูฟานเหลือง Maxomys surifer สังเกตลักษณะเด่นได้จากบริเวณปลายถึง 1 ใน 3 ของหางมีสีขาว (white tip) นั่นเอง....
การแยก Genus ของหนู สิ่งหนึ่งที่ควรมองอันดับต้นๆ นั่นคือรูปร่างลักษณะของหางครับ!!
ความเห็นที่ 12
dsc_1332.jpg = Lamproptera curius curius มี 2 ชนิดที่คล้ายกัน
จากภาพน่าจะเป้นตัวนี้