งานวิจัยพี่นณณ์ครั้งที่ 15
ถึงที่แล้ว
เห็ดดาวดิน คราวก่อนเจอดอกเดียว ไม่สมประกอบ คราวนี้เจอเป็นดง (มากับดวง)
เดินต่อไป
และแล้วฝนก็ตกจนได้
หนึ่งชั่วโมงผ่านไป เราก็มีแม่น้ำบนภูเขา
เสร็จภารกิจ ก็เดินกลับ
บรรยากาศทางออก เปลี่ยนไปแล้ว ชุ่มฉ่ำ
แวปไปน้ำตกแถวๆนั้น หาพิศวง แต่หาไม่เจอ เจอแต่เห็ด
เก็บพิศวงไว้ลุ้นต่อไป
แสงหมดแล้ว หมดเวลาหัดถ่ายภาพกว้างๆ เลยเก็บคิท หันมาถ่ายมาโครต่อ
แต่อนิจจา เลนส์เสียซะอย่างงั้น ออโตโฟกัสไม่ได้ เลยเกิดอาการทุลักทุเล เพราะมือซ้ายถือทั้งแฟลช ทั้งไฟฉาย ยังต้องสละนิ้วก้อยไว้ปรับโฟกัสอีก (ภายหลังกลับมาบ้านเก็บเข้ากล่อง silica gel แล้วหายดีดังเดิม)
กิ้งก่าอะไร? คล้ายกับตัวไหนไหม? สังเกตุอย่างไร? (มือใหม่หัดดูกิ้งก่า)
ลองดูแถบสีดำที่คอครับ
Acanthosaura crucigera อิอิ
พืชพรรณน่าสนใจ
ที่นี่เห็ดถ้วยเยอะ ได้โอกาศอันดีแล้ว อิอิ
ดูจะมีหลายแบบซะด้วย
เห็ดอะไรหว่า เห็ดรังนก?
จบภาคก่อนมืดไว้ตรงนี้ก่อนครับ แล้วจะมาต่อภาคกลางคืน
อยากดูตอนกลางคืนจังครับ XD
มาต่อกลางคืนครับผม ตามลำดับไปเลยละกันนิ
เจอตุ๊กกายกินอาหารอีกแล้ว
ต่อระหว่างทาง
เข้าถ้ำครับ
ใบไม้ปริศนามีแท่งๆโผล่ตามแนวก้านใบ
ผมว่าเป็นรูปแบบหนึ่งของ Gall ครับ... ลองบีบดูข้างในหรือเปล่า ผมว่าคงไม่เห็นตัวอะไรในนั้น ท่าจะเป็นท่อต้นมากกว่า
.
ชุดสุดท้ายครับ หมดแล้วครับผม
อึ่งจิ๋วลายจุด น่ารักดีอ่ะ ^^ (ทำไมเดียวนี้ชัดลึกมันน้อยลงอ่ะพี่ ดู DOF มันบางๆ ไปหมด)
โอย ภาพงามตลอดเลยนะพี่ อิอิ
ยังไม่รู้เลยว่าเป็นที่ไหนเนี่ย ดูเพลินเชียว
F ประมาณ 7-9 อะ น้อยไปปะ
บางภาพโดน crop เข้ามาอีก เลยดูตื้นกว่าปกติมั้ง
ผมใช้ F 14-16 อ่ะครับ (แต่บางครั้ง ก็ยังถ่ายได้ไม่ชัดทั้งตัวอยู่ดี - -*)
นายโจระบุเจ้าอาหารมาทางหลังไมค์
เพลี้ยกระโดดวงศ์ Cercopidae (เพลี๊ยกระโดดมีหลายวงศ์) ตั๊กแตนแคระวงศ์ Tetrigidae (วงศ์นี่วงเดียวที่เป็นตั๊กแตนแคระ)
เห็ดถ้วยถ้วยนี่น่ารักจริงๆ
มีแต่ของสวยๆ งามๆ
ครั้งที่ 14 ครับ อย่าเพิ่งเพิ่มให้ดีใจดิ!
ภาพสวยมาก และขอบคุณสำหรับ id อาหารตุ๊กกายครับ
ถึงว่า ผมว่าคราวก่อนครั้งที่ 13 ยังไม่ได้เปิดดูครั้งที่ 14 มาก่อน
แจ่มจริงๆ
แด่วๆๆๆ เห็ดดาวดิน
เห็ดรังนก โดนขโมยไข่ไปหมดแล้วจ้า
ดูแล้วน่าสนุกจังครับ เรียนจบแล้วอยากทำมั่งจัง แต่ไม่รู้เจอของจริงแล้ว จะเหยียบขี้ไก่ฝ่อรึเปล่า? 55555
กิ้งก่าเขาหนามยาวจันทบูร(Acanthosaura cardamomensis)
เขียดตัวที่ 1 เขียดน้ำนอง(Occidozyga martensi)
2. เขียดจะนา(Occidozyga lima) ครับ
สำหรับกิ้งก่าตัวแรก ลองใช้แถบสีดำที่คอและลักษณะของหนามในการแยกชนิดและกลุ่มดูครับผม
โอเช เดี๋ยวจะกลับไปทำการบ้านมาใหม่
ขอบคุณสำหรับภาพถ่ายอันงดงามและเป็นประโยชน์ครับ ภาพจากทริปคราวที่แล้วและภาพในคราวนี้ช่วยยืนยันได้ชัดเจนว่าอาหารส่วนใหญ่ของแมงมุมแส้ตามถ้ำคือพวกแมงมุมตามที่คาดไว้ หากนำมาประกอบกับพฤติกรรมการล่าของพวกเค้าแล้ว แมงมุมน่าจะเป็นเหยื่อที่ล่าได้ง่ายที่สุด เพราะจากการสังเกตในธรรมชาติและทดลองในที่เลี้ยงพบว่าจิ้งหรีดถ้ำไม่เคยยอมให้แมงมุมแส้เข้าใกล้ได้ในระยะประชิดหรือเข้าใกล้เพียงพอกับระยะการทำงานของก้ามคู่ยาว (pedipalp)เลย แมงมุมน่าจะเป็นคำตอบที่ดีที่สุดกับชีวิตตามผนังถ้ำของพวกเค้าครับ
อืม สองรอบละเนอะ ที่เหยื่อเป็นแมงมุม
ผมก็แอบลุ้นจะได้ภาพแมงมุมแส้หนีบตุ๊กกายไว้ในปากบ้าง
ตัวอะไรก็ได้ ขอแบบกำลังกินตุ๊กกายอยู่ตามธรรมชาติ Good science ทั้งนั้น อิ อิ
ขอแจมๆ
ในฐานะที่เคยเห็นแมงมุมแส้กินจิ้งหรีดถ้ำ ที่จริงแมงมุมแส้ก็มียุทธวิธีในการจัดการได้เหมือนกัน(แม้ไม่ง่ายนัก) มันสามารถจัดการจิ้งหรีดถ้ำที่อยู่แตกฝูงได้โดยการคลานต่ำซึ่งจะพ้นพิสัยทำการของหนวดที่ยาวรุงรังได้ แล้วจึงใช้ก้ามโจมตีจากมุมต่ำ สำหรับในที่เลี้ยงอาจมีพื้นที่ให้แมงมุมแส้ใช้ยุทธวิธีนี้ไม่เพียงพอ หรือจิ้งหรีดถ้ำเห็นอยู่ตำตาจึงมีการระวังมากขึ้นก็เป็นได้ขอรับ
แมงมุมกระโดด แหล่มมาก
ดูเพลินเลย
โห...สุดยอด gesner สวยมาก...
ส่วน Globba เอาลูกน้อยมาปลูก ก็ขึ้นแน่นอนค่ะ เพราะว่ามันเอาไว้ใช้ให้ลอยไปตามน้ำจะได้ขึ้นได้ง่ายๆ
gesner คืออะไร ?
สวยมากๆเลยคะ
และได้คำตอบบอกลูกๆแล้ว เด็กๆไปเจอเห็ดปะการัง
เค้าก็ถ่ายรูปเก็บใส่มือถือมาถาม แต่สวยดีคะ เหมือนปะการังในทะเลมากๆเลย
ภาพนี่ไม่เคยผิดหวังเลยจริงๆ ^^
แฮะๆ gesner เป็นชื่อเล่นของ วงศ์ Gesneriaceae หรือ พืชวงศ์ชาฤาษีค่ะ
ภาพไหนครับ
พวกดอกสีม่วงทั้่งหลายไงท่าน ทั้งม่วงใหญ่ ม่วงเล็กพวง
จริงๆ ประดับหินมันใช้กับ Argostemma ก่อน แต่พวกนี้มันก็ขึ้นอยู่กับหินเหมือนกัน ไม่รู้จะเรียกอะไร เจ้าหน้าที่ถามเลยเรียกประดับหินมั่วไป แต่จริงๆแล้วพืชคนละกลุ่มอ่ะ ข้าพเจ้าผิดเอง
ภาพสวยจังครับอยากมีโอกาสไปเดินแบบนี้บ้างจัง
สวยงามทุกภาพครับ
Comments
ความเห็นที่ 1
ถึงที่แล้ว
ความเห็นที่ 2
เห็ดดาวดิน คราวก่อนเจอดอกเดียว ไม่สมประกอบ คราวนี้เจอเป็นดง (มากับดวง)
ความเห็นที่ 3
ความเห็นที่ 4
เดินต่อไป
ความเห็นที่ 5
และแล้วฝนก็ตกจนได้
ความเห็นที่ 6
หนึ่งชั่วโมงผ่านไป เราก็มีแม่น้ำบนภูเขา
ความเห็นที่ 7
เสร็จภารกิจ ก็เดินกลับ
ความเห็นที่ 8
บรรยากาศทางออก เปลี่ยนไปแล้ว ชุ่มฉ่ำ
ความเห็นที่ 9
แวปไปน้ำตกแถวๆนั้น หาพิศวง แต่หาไม่เจอ เจอแต่เห็ด
เก็บพิศวงไว้ลุ้นต่อไป
ความเห็นที่ 10
แสงหมดแล้ว หมดเวลาหัดถ่ายภาพกว้างๆ เลยเก็บคิท หันมาถ่ายมาโครต่อ
แต่อนิจจา เลนส์เสียซะอย่างงั้น ออโตโฟกัสไม่ได้ เลยเกิดอาการทุลักทุเล เพราะมือซ้ายถือทั้งแฟลช ทั้งไฟฉาย ยังต้องสละนิ้วก้อยไว้ปรับโฟกัสอีก (ภายหลังกลับมาบ้านเก็บเข้ากล่อง silica gel แล้วหายดีดังเดิม)
ความเห็นที่ 11
กิ้งก่าอะไร? คล้ายกับตัวไหนไหม? สังเกตุอย่างไร? (มือใหม่หัดดูกิ้งก่า)
ความเห็นที่ 12
ลองดูแถบสีดำที่คอครับ
ความเห็นที่ 12.1
Acanthosaura crucigera อิอิ
ความเห็นที่ 13
พืชพรรณน่าสนใจ
ความเห็นที่ 14
ที่นี่เห็ดถ้วยเยอะ ได้โอกาศอันดีแล้ว อิอิ
ดูจะมีหลายแบบซะด้วย
ความเห็นที่ 15
เห็ดอะไรหว่า เห็ดรังนก?
ความเห็นที่ 16
จบภาคก่อนมืดไว้ตรงนี้ก่อนครับ แล้วจะมาต่อภาคกลางคืน
ความเห็นที่ 17
อยากดูตอนกลางคืนจังครับ XD
ความเห็นที่ 18
มาต่อกลางคืนครับผม ตามลำดับไปเลยละกันนิ
ความเห็นที่ 19
เจอตุ๊กกายกินอาหารอีกแล้ว
ความเห็นที่ 20
ต่อระหว่างทาง
ความเห็นที่ 21
เข้าถ้ำครับ
ความเห็นที่ 22
ใบไม้ปริศนามีแท่งๆโผล่ตามแนวก้านใบ
ความเห็นที่ 22.1
ผมว่าเป็นรูปแบบหนึ่งของ Gall ครับ... ลองบีบดูข้างในหรือเปล่า ผมว่าคงไม่เห็นตัวอะไรในนั้น ท่าจะเป็นท่อต้นมากกว่า
ความเห็นที่ 23
.
ความเห็นที่ 24
ชุดสุดท้ายครับ หมดแล้วครับผม
ความเห็นที่ 25
อึ่งจิ๋วลายจุด น่ารักดีอ่ะ ^^
(ทำไมเดียวนี้ชัดลึกมันน้อยลงอ่ะพี่ ดู DOF มันบางๆ ไปหมด)
ความเห็นที่ 26
โอย ภาพงามตลอดเลยนะพี่ อิอิ
ความเห็นที่ 27
ยังไม่รู้เลยว่าเป็นที่ไหนเนี่ย ดูเพลินเชียว
ความเห็นที่ 28
F ประมาณ 7-9 อะ น้อยไปปะ
บางภาพโดน crop เข้ามาอีก เลยดูตื้นกว่าปกติมั้ง
ความเห็นที่ 28.1
ผมใช้ F 14-16 อ่ะครับ (แต่บางครั้ง ก็ยังถ่ายได้ไม่ชัดทั้งตัวอยู่ดี - -*)
ความเห็นที่ 29
นายโจระบุเจ้าอาหารมาทางหลังไมค์
เพลี้ยกระโดดวงศ์ Cercopidae (เพลี๊ยกระโดดมีหลายวงศ์)
ตั๊กแตนแคระวงศ์ Tetrigidae (วงศ์นี่วงเดียวที่เป็นตั๊กแตนแคระ)
ความเห็นที่ 30
เห็ดถ้วยถ้วยนี่น่ารักจริงๆ
ความเห็นที่ 31
มีแต่ของสวยๆ งามๆ
ความเห็นที่ 32
ครั้งที่ 14 ครับ อย่าเพิ่งเพิ่มให้ดีใจดิ!
ภาพสวยมาก และขอบคุณสำหรับ id อาหารตุ๊กกายครับ
ความเห็นที่ 32.1
ถึงว่า ผมว่าคราวก่อนครั้งที่ 13 ยังไม่ได้เปิดดูครั้งที่ 14 มาก่อน
ความเห็นที่ 33
แจ่มจริงๆ
แด่วๆๆๆ เห็ดดาวดิน
เห็ดรังนก โดนขโมยไข่ไปหมดแล้วจ้า
ความเห็นที่ 33.1
ความเห็นที่ 34
ดูแล้วน่าสนุกจังครับ เรียนจบแล้วอยากทำมั่งจัง แต่ไม่รู้เจอของจริงแล้ว จะเหยียบขี้ไก่ฝ่อรึเปล่า? 55555
ความเห็นที่ 35
กิ้งก่าเขาหนามยาวจันทบูร(Acanthosaura cardamomensis)
เขียดตัวที่ 1 เขียดน้ำนอง(Occidozyga martensi)
2. เขียดจะนา(Occidozyga lima) ครับ
สำหรับกิ้งก่าตัวแรก ลองใช้แถบสีดำที่คอและลักษณะของหนามในการแยกชนิดและกลุ่มดูครับผม
ความเห็นที่ 35.1
โอเช เดี๋ยวจะกลับไปทำการบ้านมาใหม่
ความเห็นที่ 36
ขอบคุณสำหรับภาพถ่ายอันงดงามและเป็นประโยชน์ครับ ภาพจากทริปคราวที่แล้วและภาพในคราวนี้ช่วยยืนยันได้ชัดเจนว่าอาหารส่วนใหญ่ของแมงมุมแส้ตามถ้ำคือพวกแมงมุมตามที่คาดไว้ หากนำมาประกอบกับพฤติกรรมการล่าของพวกเค้าแล้ว แมงมุมน่าจะเป็นเหยื่อที่ล่าได้ง่ายที่สุด เพราะจากการสังเกตในธรรมชาติและทดลองในที่เลี้ยงพบว่าจิ้งหรีดถ้ำไม่เคยยอมให้แมงมุมแส้เข้าใกล้ได้ในระยะประชิดหรือเข้าใกล้เพียงพอกับระยะการทำงานของก้ามคู่ยาว (pedipalp)เลย แมงมุมน่าจะเป็นคำตอบที่ดีที่สุดกับชีวิตตามผนังถ้ำของพวกเค้าครับ
ความเห็นที่ 36.1
อืม สองรอบละเนอะ ที่เหยื่อเป็นแมงมุม
ผมก็แอบลุ้นจะได้ภาพแมงมุมแส้หนีบตุ๊กกายไว้ในปากบ้าง
ความเห็นที่ 36.1.1
ตัวอะไรก็ได้ ขอแบบกำลังกินตุ๊กกายอยู่ตามธรรมชาติ Good science ทั้งนั้น อิ อิ
ความเห็นที่ 36.2
ขอแจมๆ
ในฐานะที่เคยเห็นแมงมุมแส้กินจิ้งหรีดถ้ำ ที่จริงแมงมุมแส้ก็มียุทธวิธีในการจัดการได้เหมือนกัน(แม้ไม่ง่ายนัก) มันสามารถจัดการจิ้งหรีดถ้ำที่อยู่แตกฝูงได้โดยการคลานต่ำซึ่งจะพ้นพิสัยทำการของหนวดที่ยาวรุงรังได้ แล้วจึงใช้ก้ามโจมตีจากมุมต่ำ สำหรับในที่เลี้ยงอาจมีพื้นที่ให้แมงมุมแส้ใช้ยุทธวิธีนี้ไม่เพียงพอ หรือจิ้งหรีดถ้ำเห็นอยู่ตำตาจึงมีการระวังมากขึ้นก็เป็นได้ขอรับ
ความเห็นที่ 37
แมงมุมกระโดด แหล่มมาก
ความเห็นที่ 38
ดูเพลินเลย
ความเห็นที่ 39
โห...สุดยอด gesner สวยมาก...
ส่วน Globba เอาลูกน้อยมาปลูก ก็ขึ้นแน่นอนค่ะ เพราะว่ามันเอาไว้ใช้ให้ลอยไปตามน้ำจะได้ขึ้นได้ง่ายๆ
ความเห็นที่ 40
gesner คืออะไร ?
ความเห็นที่ 41
สวยมากๆเลยคะ
และได้คำตอบบอกลูกๆแล้ว เด็กๆไปเจอเห็ดปะการัง
เค้าก็ถ่ายรูปเก็บใส่มือถือมาถาม แต่สวยดีคะ เหมือนปะการังในทะเลมากๆเลย
ความเห็นที่ 42
ภาพนี่ไม่เคยผิดหวังเลยจริงๆ ^^
ความเห็นที่ 43
แฮะๆ gesner เป็นชื่อเล่นของ วงศ์ Gesneriaceae หรือ พืชวงศ์ชาฤาษีค่ะ
ความเห็นที่ 43.1
ภาพไหนครับ
ความเห็นที่ 43.1.1
พวกดอกสีม่วงทั้่งหลายไงท่าน ทั้งม่วงใหญ่ ม่วงเล็กพวง
จริงๆ ประดับหินมันใช้กับ Argostemma ก่อน แต่พวกนี้มันก็ขึ้นอยู่กับหินเหมือนกัน ไม่รู้จะเรียกอะไร เจ้าหน้าที่ถามเลยเรียกประดับหินมั่วไป แต่จริงๆแล้วพืชคนละกลุ่มอ่ะ ข้าพเจ้าผิดเอง
ความเห็นที่ 44
ภาพสวยจังครับอยากมีโอกาสไปเดินแบบนี้บ้างจัง
ความเห็นที่ 45
สวยงามทุกภาพครับ