Skip to main content
เข้าสู่ระบบ
|
สมัครสมาชิก
หมวดหมู่:
- ทั้งหมด -
ดัชนีสิ่งมีชีวิต
พิมพ์คำที่ต้องการค้นหา:
กลุ่มอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อม
Home
Article
Species Index
Webboard
Documents
Quizzes
หน้าแรก
»
บอร์ดพูดคุย
»
Others : อื่นๆ
»
ชีวิตเล็กๆริมทะเลชุมพร
เลือกหมวดหมู่
All Category : ทั้งหมด
Bird : นก
Crustacean : ปูและกุ้ง
Environment : สิ่งแวดล้อม
Fish : ปลา
Fungi : เห็ดรา
Herp : เลื้อยคลานและครึ่งบกครึ่งน้ำ
Insect : แมลง
Mammal : เลี้ยงลูกด้วยนม
Mollusk : หอย
Other Arthropods : สัตว์ขาข้ออื่นๆ
Plant : พืช
Travel : ท่องเที่ยว
Others : อื่นๆ
ชีวิตเล็กๆริมทะเลชุมพร
เขียนโดย coneman
Authenticated user
เมื่อ 31 สิงหาคม 2554
ได้มีโอกาสไปมุดน้ำริมทะเลชุมพร เลยเอาภาพมาฝากกันเล็กน้อยครับ
‹ ไม่เป็นเรื่องเป็นราว
เอาหนังสือมาฝากครับ ›
Others : อื่นๆ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
อ่าน 15178 ครั้ง
Comments
ความเห็นที่ 1
เขียนโดย coneman
Authenticated user
เมื่อ 31 สิงหาคม 2554
ลงไปใต้น้ำกันบ้างครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.1
เขียนโดย ต้ล
Authenticated user
เมื่อ 31 สิงหาคม 2554
แมงมุมทะเลนี่มันพวกเดียวกับปูรึเปล่าครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.1.1
เขียนโดย นกกินเปี้ยว
Authenticated user
เมื่อ 31 สิงหาคม 2554
ถ้าจะบอกว่าพวกเดียวกับปูก็ไม่ผิด แต่ก็เป็นพวกเดียวกับกุ้ง กั้ง แอมฟิพอด ไอโซพอดด้วย เพราะมันเป็นครัสเตเชียน
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.1.2
เขียนโดย coneman
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
แมงมุมทะเลไม่ใช่กลุ่ม crustacean นะครับ ตามสายวิวัฒนาการอยู่คนละกลุ่มกับกุ้งปู และมีความ
ใกล้ชิดกลุ่มแมงมุม (true spiders) มากกว่ากลุ่มกุ้งปูครับ แมงมุมทะเลจัดอยู่ใน Subphylum
Chelicerata กลุ่มเดียวกับ แมงมุม แมงป่อง แมงดาทะเล เห็บ โดยอาศัยลักษณะการมี
Chelicerae (ในแมงมุมทะเลเรียก chelifores) ส่วนพวกกุ้งปูจัดอยู่ใน Subphylum Crustacea
โดยอาศัยลักษณะการมี biramous appendages ได้แก่ กุ้ง กั้ง ปู เพรียง ครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.1.2.1
เขียนโดย ต้ล
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
ถ้ามันถักใยได้ด้วยคงจะมีอะไรสนุกๆให้ดูเหมือนกันนะครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.1.2.2
เขียนโดย นกกินเปี้ยว
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
อ้าวเหรอ จำไม่ได้เลย
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.1.2.3
เขียนโดย นณณ์
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
ทำเป็น si จะเข้าใจง่ายขึ้น หุ หุ หุ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.1.2.3.1
เขียนโดย Due_n
Authenticated user
เมื่อ 2 กันยายน 2554
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.1.2.4
เขียนโดย นกกินเปี้ยว
Authenticated user
เมื่อ 2 กันยายน 2554
กลับไปดูสไลด์ที่เอาไปพรีเซนต์เมื่อ 2-3 ปีก่อน ก็จัดไว้ใน Chelicerata อยู่แล้ว พรีเซนต์ไปเองยังลืมเลย เหอๆ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.2
เขียนโดย นกกินเปี้ยว
Authenticated user
เมื่อ 31 สิงหาคม 2554
น่าจะเป็นปูแมงมุมสาหร่าย
Huenia heraldica
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 1.2.1
เขียนโดย coneman
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
ขอบคุณครับพี่
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 2
เขียนโดย coneman
Authenticated user
เมื่อ 31 สิงหาคม 2554
หมดแล้วครับ เอาภาพทะเลมาเปลี่ยนบรรยากาศกันเล็กน้อย ขอบคุณครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 3
เขียนโดย นณณ์
Authenticated user
เมื่อ 31 สิงหาคม 2554
ภาพแรกถ่ายด้วยอะไรครับ?
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 3.1
เขียนโดย coneman
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
ถ่ายด้วยเลนส์ 100 macro ต่อกับ macro tube ครับพี่ แต่พวกนี้เซลล์ใหญ่อยู่แล้ว มองเห็นได้
ด้วยตาเปล่า
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 4
เขียนโดย Due_n
Authenticated user
เมื่อ 31 สิงหาคม 2554
เห็นภาพแล้วชื่นตาชื่นใจครับ งามหลายคร้าบบบ
ภาพแรกใช่ที่มันเรืองแสงสีเขียวใกล้กับชายหาดหรือเปล่าครับ?
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 4.1
เขียนโดย coneman
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
ขอบคุณครับท่านดิว การเรืองแสงในทะเลมีได้หลายสาเหตุครับ ส่วนใหญ่ก็เป็นกลุ่มนี้ ซึ่งมี
Luciferin และเอนไซม์ Luciferase อยู่ในเซลล์ นอกจากนี้แบคทีเรียบางกลุ่มก็เรืองแสงได้เช่นกัน
เช่นกลุ่ม
Vibrio
พวกสัตว์ทะเลบางกลุ่มเช่น Isopod ก็สามารถเรืองแสงได้เมื่อตกใจ ทั้งหมดสามารถพบได้ในทะเลบ้านเราครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 5
เขียนโดย Leviathan
Authenticated user
เมื่อ 31 สิงหาคม 2554
น้ำใสดีจริง ทริปล่าสุดไป ฝนฟ้าคลื่นลมไม่เป็นใจ น้ำขุ่นถ่ายอะไรไม่ได้เลย แถบเมาอีกต่างหาก
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 6
เขียนโดย Leviathan
Authenticated user
เมื่อ 31 สิงหาคม 2554
ปูเขียว หน้าตาเหมือน Huenia heraldica ถ้าใช่ท่านเจอของดีเข้าแล้ว
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 6.1
เขียนโดย นกกินเปี้ยว
Authenticated user
เมื่อ 31 สิงหาคม 2554
อ้อ ตอบไปซะแล้ว เพิ่งเห็น ไม่ได้รีเฟรชเลย
มัวแต่ดูทีวีสงขลาเรื่องนึง ต่อด้วยเรื่องถมทะเล เลยเปิดค้างไว้ ไม่ได้ตอบ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 6.1.1
เขียนโดย Leviathan
Authenticated user
เมื่อ 31 สิงหาคม 2554
ตกลงประเด็นถมทะเลนี่ ยังไม่จบอีกหรือครับ ผลกระทบมันก็เห็นๆกันอยู่
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 6.2
เขียนโดย coneman
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
ของดียังไงอ่ะ เจอออกจะบ่อยปูเขียวเนี่ย
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 6.2.1
เขียนโดย Leviathan
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
อ้าว... ไหน อ.บางท่าน ว่า Super rare
ปล. ผลก็ยังไม่เคยเห็น เหอๆ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 6.2.1.1
เขียนโดย coneman
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
rare ในที่นี้ผมไม่ทราบว่าใช้เกณฑ์อะไรตัดสิน มันอาจมีเยอะแยะแต่มองไม่เห็นก็ได้ หรือไปดูไม่ถูกที่
ถูกทาง ปูกลุ่มนี้ถ้าดำน้ำลึกก็คงจะเจอยากแหละ เพราะส่วนใหญ่อยู่น้ำตื้นใกล้ชายฝั่ง ซึ่งนักดำน้ำน้อยคนจะไปอยู่มุดอยู่แถวนั้น
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 7
เขียนโดย callus
Authenticated user
เมื่อ 31 สิงหาคม 2554
ภาพเปิดงามมากๆ คะ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 7.1
เขียนโดย coneman
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
ขอบคุณครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 8
เขียนโดย นณณ์
Authenticated user
เมื่อ 31 สิงหาคม 2554
Huenia ทำไมกดหาในลุงกู๋ กลายเป็นสกุลของกระบองเพชรไปอ่ะ??
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 8.1
เขียนโดย นกกินเปี้ยว
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
อารมณ์คล้ายๆกันแหละพี่ ปูแมงมุมสกุลนี้หน้าตาออกแนวพืช คล้ายๆกระบองเพชรอยู่เหมือนกัน
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 8.1.1
เขียนโดย coneman
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
ปูตัวเขียวๆเนี่ย ผมเคยเจอสองแบบ รูปร่างมันคล้ายกันนะพี่ แต่ตัวนึงจะเล็กกว่า และแบนกว่า ขอบตัวออกสีน้ำตาล ชอบอยู่กับสาหร่ายใบมะกรูด
Halimeda
sp. ส่วนในกระทู้นี้เคยพบในดงสาหร่ายพวงองุ่นกับ
ในหญ้าทะเล ครั้งนี้ อ.บอยเจอใต้ก้อนหินใกล้ฝั่ง เลยไม่รู้ตัวเดียวกันป่าว และตัวที่ ID กันเป็นชนิดไหน
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 8.1.1.1
เขียนโดย นกกินเปี้ยว
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
มีตัวอย่างจากป่าตองอยู่เหมือนกัน ตัวสีแดงมีหยัก 2 คู่ ไม่เหมือนตัวนี้ แต่ชนิดนี้มันมีหลายฟอร์มอยู่ ไว้พรางกับสาหร่ายคนละแบบกัน
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 8.1.1.2
เขียนโดย นกกินเปี้ยว
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
ฟอร์มของปูแมงมุนิดนี้
ที่ที่มา
http://species-identification.org/species.php?species_group=crabs_of_jap...
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 8.1.1.2.1
เขียนโดย coneman
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
ครับพี่ ชัดเจน อาจเป็นชนิดเดียวกัน แต่คนละเพศครับ ที่บอกเคยเจอสองแบบคือแบบ a และ c ครับ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 9
เขียนโดย Leviathan
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
เอาไปเต็มๆ สิพี่ ฮาๆ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 10
เขียนโดย นกกินเปี้ยว
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
กล้องขยายมาโครจนเห็นนอคติลูกาเป็นเม็ดๆ น่าอิจฉาจริง
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 11
เขียนโดย Portrait
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
ลองเอา Noctiluca scintillans ไปหาในกูเกิลดู ตระการตามากครับพี่
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 11.1
เขียนโดย coneman
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
ของจริงสวยกว่าในภาพอีกนะน้อง
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 12
เขียนโดย aqueous_andaman
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
เห็นภาพชุดนี้แล้วคิดถึงทะเลจัง ^^
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 12.1
เขียนโดย coneman
Authenticated user
เมื่อ 1 กันยายน 2554
จบโทแล้วไปต่อปลาบู่ทะเลเลย มีอะไรให้เล่นอีกเยอะ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 13
เขียนโดย GreenEyes
Authenticated user
เมื่อ 2 กันยายน 2554
สัตว์แปลกๆบ้านเรามีมากมายจริงๆ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความเห็นที่ 14
เขียนโดย sparrow
Authenticated user
เมื่อ 3 กันยายน 2554
ภาพงามและได้เปิดตาเปิดใจเหมือนเช่นเคย ขอบคุณค่ะ
ล็อกอิน
หรือ
ลงทะเบียน
เพื่อแสดงความคิดเห็น
Comments
ความเห็นที่ 1
ความเห็นที่ 1.1
ความเห็นที่ 1.1.1
ความเห็นที่ 1.1.2
ใกล้ชิดกลุ่มแมงมุม (true spiders) มากกว่ากลุ่มกุ้งปูครับ แมงมุมทะเลจัดอยู่ใน Subphylum
Chelicerata กลุ่มเดียวกับ แมงมุม แมงป่อง แมงดาทะเล เห็บ โดยอาศัยลักษณะการมี
Chelicerae (ในแมงมุมทะเลเรียก chelifores) ส่วนพวกกุ้งปูจัดอยู่ใน Subphylum Crustacea
โดยอาศัยลักษณะการมี biramous appendages ได้แก่ กุ้ง กั้ง ปู เพรียง ครับ
ความเห็นที่ 1.1.2.1
ความเห็นที่ 1.1.2.2
ความเห็นที่ 1.1.2.3
ความเห็นที่ 1.1.2.3.1
ความเห็นที่ 1.1.2.4
ความเห็นที่ 1.2
ความเห็นที่ 1.2.1
ความเห็นที่ 2
ความเห็นที่ 3
ความเห็นที่ 3.1
ด้วยตาเปล่า
ความเห็นที่ 4
เห็นภาพแล้วชื่นตาชื่นใจครับ งามหลายคร้าบบบ
ภาพแรกใช่ที่มันเรืองแสงสีเขียวใกล้กับชายหาดหรือเปล่าครับ?
ความเห็นที่ 4.1
Luciferin และเอนไซม์ Luciferase อยู่ในเซลล์ นอกจากนี้แบคทีเรียบางกลุ่มก็เรืองแสงได้เช่นกัน
เช่นกลุ่ม Vibrio พวกสัตว์ทะเลบางกลุ่มเช่น Isopod ก็สามารถเรืองแสงได้เมื่อตกใจ ทั้งหมดสามารถพบได้ในทะเลบ้านเราครับ
ความเห็นที่ 5
ความเห็นที่ 6
ความเห็นที่ 6.1
มัวแต่ดูทีวีสงขลาเรื่องนึง ต่อด้วยเรื่องถมทะเล เลยเปิดค้างไว้ ไม่ได้ตอบ
ความเห็นที่ 6.1.1
ความเห็นที่ 6.2
ความเห็นที่ 6.2.1
ปล. ผลก็ยังไม่เคยเห็น เหอๆ
ความเห็นที่ 6.2.1.1
ถูกทาง ปูกลุ่มนี้ถ้าดำน้ำลึกก็คงจะเจอยากแหละ เพราะส่วนใหญ่อยู่น้ำตื้นใกล้ชายฝั่ง ซึ่งนักดำน้ำน้อยคนจะไปอยู่มุดอยู่แถวนั้น
ความเห็นที่ 7
ความเห็นที่ 7.1
ความเห็นที่ 8
ความเห็นที่ 8.1
ความเห็นที่ 8.1.1
ในหญ้าทะเล ครั้งนี้ อ.บอยเจอใต้ก้อนหินใกล้ฝั่ง เลยไม่รู้ตัวเดียวกันป่าว และตัวที่ ID กันเป็นชนิดไหน
ความเห็นที่ 8.1.1.1
ความเห็นที่ 8.1.1.2
ที่ที่มา http://species-identification.org/species.php?species_group=crabs_of_jap...
ความเห็นที่ 8.1.1.2.1
ความเห็นที่ 9
ความเห็นที่ 10
ความเห็นที่ 11
ความเห็นที่ 11.1
ความเห็นที่ 12
ความเห็นที่ 12.1
ความเห็นที่ 13
ความเห็นที่ 14