ลำปางหนาวมาก แต่ดอยอินฯหนาวกว่า
เขียนโดย นณณ์ Authenticated user เมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2554
ปีนี้เป็นอีกปีที่ขึ้นไปร่วมนับปลาและสิ่งมีชีวิตอื่นๆในงานนับนกที่ดอยอินฯของกลุ่มสยามเอ็นสิส ปีนี้ขาขึ้นได้รับความกรุณาจากSCG ปูนลำปางให้ที่ซุกหัวนอนและที่ตามหากระรอกหนึ่งคืนครับ เริ่มกันด้วยภาพจากลำปางก่อนก็แล้วกัน
เสี้ยวขาว
http://www.siamensis.org/species_index#2854--Species:%20Bauhinia%20varie...
กระรอกหลากสี
http://www.siamensis.org/species_index#2339--Species:%20Callosciurus%20f...
แซงแซวหางบ่วงใหญ่
http://www.siamensis.org/species_index#5895--Species:%20Dicrurus%20parad...
เสี้ยวขาว
http://www.siamensis.org/species_index#2854--Species:%20Bauhinia%20varie...
กระรอกหลากสี
http://www.siamensis.org/species_index#2339--Species:%20Callosciurus%20f...
แซงแซวหางบ่วงใหญ่
http://www.siamensis.org/species_index#5895--Species:%20Dicrurus%20parad...
Comments
ความเห็นที่ 1
ความเห็นที่ 2
ความเห็นที่ 3
ซีรีย์นี้เลือกไม่ถูกว่าจะเอาภาพไหนดี กดไปสามเลยแล้วกัน ส่งเข้าประกวดภาพกินปลีฯ
ความเห็นที่ 3.1
ความเห็นที่ 4
ความเห็นที่ 5
ความเห็นที่ 5.1
ความเห็นที่ 6
แต่ก็ยังไกล ไกลโพ้นนนนน
http://www.siamensis.org/species_index#1935--Species:%20Naemorhedus%20gr...
ความเห็นที่ 6.1
ความเห็นที่ 6.2
แจ้งลบครับ ภาพทำร้ายจิตใจมาก T T
ความเห็นที่ 6.2.1
ปีนี้ดันไม่ได้ไปอีก อดเลย ฮ่าๆๆๆ --*
ความเห็นที่ 6.3
ความเห็นที่ 7
ความเห็นที่ 8
ผลคือหลังจากฝายถูกรื้อไปแล้ว ลำธารกลับสู่สภาพปกติได้ในปีนี้ ปูและปลาค้างคาวอินทนนท์ก็กลับมาแล้ว ถึงแม้จะยังไม่มากนักและมีขนาดเล็กสักหน่อย แต่ก็กลับมาแล้ว ดีจังครับ
ความเห็นที่ 8.1
น่ายินดีนะครับ ค้างคาวน้อยกลับมาแว้ววว...
ความเห็นที่ 8.2
ความเห็นที่ 9
ความเห็นที่ 9.1
ฝายชุดที่เหลือนี่อยู่ก่อน หรือหลังฝายปูนถาวรครับ
ความเห็นที่ 9.1.1
ความเห็นที่ 9.1.1.1
ความเห็นที่ 9.1.1.1.1
ความเห็นที่ 9.1.1.1.1.1
ความเห็นที่ 9.1.1.1.1.1.1
ความเห็นที่ 9.1.1.1.1.1.1.1
ความเห็นที่ 10
ความเห็นที่ 10.1
ฟันธงว่าเป็น คำหด หนาวๆ งี้หดแน่ หุ หุ ...Engelhardtia spicata Blume.
ความเห็นที่ 10.2
ความเห็นที่ 11
ความเห็นที่ 12
พี่นณณ์ครับ ภาพนกกินปลีหางยาวเขียว ทั้งสามชนิด ผมมีความคิดเห็นว่า เป็นนกกินปลีหางยาวคอสีฟ้า Mrs. Gould's sunbird ครับ เพราะเจ้าสองตัวนี้ พบในบริเวณเดียวกัน มักมาที่ดอกกุหลาบพันปีพร้อมๆ กัน ต่างกันที่เจ้ากินปลีหางยาวเขียวนั้น หัวจะคลุมด้วยขนคล้ายเกล็ดออกเขียวทั้งหัว และสีส้มแสด ตรงบริเวณท้องนั้น จะเลื่อนลงมาแถวท้อง ไม่ชิดติดคอหอยเหมือนเจ้าหางยาวคอสีฟ้า น่าจะทั้งสามตัวเลยครับ
ความเห็นที่ 13
ความเห็นที่ 13.1
ความเห็นที่ 14
ความเห็นที่ 15
ความเห็นที่ 15.1
ความเห็นที่ 16
มีแต่สาวๆโทรหา ระวังแม่บ้านเคืองนะทั่น (ที่ถูกคือ ท่าน แต่เจตนาพิมพ์สื่อความหมายเพิ่มเติม)
ความเห็นที่ 17
ไม่เก็ทกะการสื่อความหมายพี่น็อต งง??
ความเห็นที่ 18