Species: Aegus chelifer
เขียนโดย iDuang Authenticated user เมื่อ 14 กันยายน 2554
Detail
ชื่อไทย: ด้วงคีมร่องเก่า
ชื่อวิทยาศาสตร์: Aegus chelifer (MacLeay, 1819)
ลักษณะเด่น: เพศผู้มีตุ่มนูนแหลมตรงกลางหัว กรามปากโค้งในแนวราบ มีฟันใหญ่ที่โคนเขี้ยว บางตัวมีฟันที่กึ่งกลางด้านในของเขี้ยว เพศผู้มีฟอร์มเขี้ยวหลายแบบ เพศเมียมีรูปร่างรูปไข่ ปีกมีรอยแกะสลักเป็นร่องตามแนวยาว ดูเก่าๆไม่เป็นเงาเหมือนในเพศผู้
ขนาด: เพศผู้ 20-40 มิลลิเมตร เพศเมีย 17-25 มิลลิเมตร
เขตแพร่กระจาย: อินเดีย พม่า ลาว เวียดนาม และไทย พบทั่วทุกภาค รวมทั้งกรุงเทพฯ
ชื่อวิทยาศาสตร์: Aegus chelifer (MacLeay, 1819)
ลักษณะเด่น: เพศผู้มีตุ่มนูนแหลมตรงกลางหัว กรามปากโค้งในแนวราบ มีฟันใหญ่ที่โคนเขี้ยว บางตัวมีฟันที่กึ่งกลางด้านในของเขี้ยว เพศผู้มีฟอร์มเขี้ยวหลายแบบ เพศเมียมีรูปร่างรูปไข่ ปีกมีรอยแกะสลักเป็นร่องตามแนวยาว ดูเก่าๆไม่เป็นเงาเหมือนในเพศผู้
ขนาด: เพศผู้ 20-40 มิลลิเมตร เพศเมีย 17-25 มิลลิเมตร
เขตแพร่กระจาย: อินเดีย พม่า ลาว เวียดนาม และไทย พบทั่วทุกภาค รวมทั้งกรุงเทพฯ
ภาพประกอบ:
- อ่าน 536 ครั้ง