ไปทำงาน เลยมีติดปลายนวม ณ ภูเก็ต
เขียนโดย knotsnake Authenticated user เมื่อ 12 พฤษภาคม 2555
กลางวัน เราทำงานหลวง ยามค่ำคืนก็ทำงานให้ตัวเอง
ท่ามกลางอากาศชื้นจัดระดับเหงื่อออกแล้วไม่ยอมระเหยออกจากผิวหนัง ก็มีปาดป่าจุดขาว (Nyctixalus pictus) ออกมาต้อนรับหลังจากฝนหยุดตก(หนัก)มาแล้ว 2 วัน และเป็นครั้งแรกที่เพื่อนร่วมเดินทาง(เจ้าถิ่น)ได้พบปาดชนิดนี้ด้วยตัวเอง จากน้ำที่ป่าซับไว้ตอนฝนตกหนักได้ไหลรินเป็นสายน้ำเพื่อหล่อเลี้ยงป่า เพื่อให้ป่าหล่อเลี้ยงโลก กบท่าสาน (Ingerana tasanae) วัยรุ่น ออกมานั่งรอเหยื่ออย่างสบายใจ กบชนิดนี้ต้องการพื้นที่ป่าที่มีความชื้นอากาศสูงมาก ไม่ใช่แค่มีน้ำก็อยู่ได้ ปัจจุบันยังมีสถานภาพเป็นสัตว์เฉพาะถิ่นของไทย และเป็นสัตว์คุ้มครองตาม พรบ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าฯ อีกด้วย
ท่ามกลางอากาศชื้นจัดระดับเหงื่อออกแล้วไม่ยอมระเหยออกจากผิวหนัง ก็มีปาดป่าจุดขาว (Nyctixalus pictus) ออกมาต้อนรับหลังจากฝนหยุดตก(หนัก)มาแล้ว 2 วัน และเป็นครั้งแรกที่เพื่อนร่วมเดินทาง(เจ้าถิ่น)ได้พบปาดชนิดนี้ด้วยตัวเอง จากน้ำที่ป่าซับไว้ตอนฝนตกหนักได้ไหลรินเป็นสายน้ำเพื่อหล่อเลี้ยงป่า เพื่อให้ป่าหล่อเลี้ยงโลก กบท่าสาน (Ingerana tasanae) วัยรุ่น ออกมานั่งรอเหยื่ออย่างสบายใจ กบชนิดนี้ต้องการพื้นที่ป่าที่มีความชื้นอากาศสูงมาก ไม่ใช่แค่มีน้ำก็อยู่ได้ ปัจจุบันยังมีสถานภาพเป็นสัตว์เฉพาะถิ่นของไทย และเป็นสัตว์คุ้มครองตาม พรบ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าฯ อีกด้วย
Comments
ความเห็นที่ 1
ความเห็นที่ 1.1
เพราะเคยจับงูหน้าตาคล้ายๆแบบนี้ได้ที่เชียงใหม่ในงานปล่อยโคมที่ธุดงค์สถานล้านนาหลัง มหาวิทยาลัยแม่โจ้......ทีแรกก็นึกว่าปล้องทอง -*-
ความเห็นที่ 1.2
ความเห็นที่ 1.3
ความเห็นที่ 1.4
ความเห็นที่ 1.5
๑. เขียวบอน (Boiga cyanea) ไม่มีช่วงใดของชีวิตที่ท้องเป็นสีขาวครับ หรือจะเหมาทั้งสกุล Boiga เลยก็ยังได้
๒. รูม่านตาของเขียวบอนรีแนวตั้ง ไม่ว่ารูม่านตาจะขยายอย่างใรในตอนแสงน้อย ก็ยังไม่กลมครับ
การพิจารณาว่าเป็นงูสิงทอง (ต้องเป็นผู้ที่คุ้นเคยกับงูพอสมควรขึ้นไป และรู้สัณฐานของงูสิงทอง จึงระบุชนิดได้จากภาพนี้ จึงขออธิบายสำหรับผู้เริ่มต้นไว้สังเกต การระบุชนิดจากภาพนี้ไม่ได้ถือเป็นเรื่องปกติ ถ้าระบุได้มักผิดปกติ)
๑. ตากลมโตมาก เมื่อเทียบกับหัว (ลักษณะสำคัญของงูสิงทุกชนิดเลยนะเนี่ย แต่ยังมีกลุ่มงูทางมะพร้าว กับงูสายม่านที่ตากลมโตมากได้ในบางชนิด)
๒. เกล็ดท้องกว้างมาก และไม่มีสันเกล็ด (งูสายม่านมีสันเกล็ดที่ขอบท้องชัดมากๆจนเกล็ดท้องพับขึ้นไปที่แนวข้างตัวชัดมาก ส่วนกลุ่มงูทางมะพร้าว หรือ ratsnake อื่นๆ เช่น กาบหมากหางนิล ทางมะพร้าวเขียว สันเกล็ดจะแค่พอมองเห็น ไม่คมชัด งูพวกนี้จึงปีนป่ายแนวดิ่งได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง) แค่นี้ก็เหลือแต่งูสิงในการพิจารณาแล้ว
๓. ด้านข้างของหางสีดำๆตัดกับสีใต้ตัวขาวๆตลอดตัว (คล้ายๆกาบหมากหางนิล) ซึ่งเป็นลักษณะเด่นเฉพาะสิงทองสำหรับในไทย
๔. ลักษณะอื่นๆที่ผมเองก็ไม่ค่อยใช้ เพราะรูปบางรูปไม่สามารถนับเกล็ดได้ คือ เกล็ดริมฝีปากบนที่แตะตางูมีชิ้นที่ ๕ และ ๖ ซึ่งสามารถใช้เป็นตัวระบุชนิดได้เช่นกัน ส่วนสีอมเขียวนั้นมีการเปลี่ยนแปลงตามช่วงวัย
น่าจะพอเป็นประโยชน์ในการจำแนกได้นะครับ แต่ถ้าเห็นในมุมเฉลย ก็จำแนกง่ายกว่าหลายเท่านักครับ
ความเห็นที่ 1.5.1
ความเห็นที่ 1.5.2
ความเห็นที่ 1.5.2.1
ความเห็นที่ 2
ความเห็นที่ 2.1
ความเห็นที่ 3
ความเห็นที่ 3.1
ความเห็นที่ 4
ความเห็นที่ 4.1
คุณ knotsnake ครับ ไม่ทราบว่าหมาย ปลากัด นี้อยู่ในภูเก็ตหรือเปล่าครับ อยู่แถวไหน จะได้ตามไป (ช่วย ) ช้อน เจ้าปลากัดออกมาอีก ก่อนที่จะถูกถมไปซะหมด
ความเห็นที่ 4.1.1
ความเห็นที่ 4.1.1.1
ไงจะตามไปดู ไม่วันอังคาร ก็วันพฤหัสครับ
ความเห็นที่ 5
ความเห็นที่ 6
ความเห็นที่ 7
ความเห็นที่ 7.1
ความเห็นที่ 7.1.1
ความเห็นที่ 8
ความเห็นที่ 9
ความเห็นที่ 10
ความเห็นที่ 11
ความเห็นที่ 11.1
ความเห็นที่ 11.1.1
ความเห็นที่ 12
ความเห็นที่ 13
ไปกับพี่จุก กับภมรครับ พี่จุกประเดิมด้วยไปฉายหรี่ๆ เจอกิ้งก่าเขียวนอนเล่นระน้ำอยู่ครับ
ความเห็นที่ 14
งูตัวแรก สิงทอง (Ptyas fusca) วัยเด็ก ตัวผู้
งูตัวที่สอง ปล้องฉนวนมลายู (Dryocalamus subannulatus) ตัวเมีย เต็มวัย
ความเห็นที่ 14.1
ความเห็นที่ 15
ความเห็นที่ 16
ความเห็นที่ 17
ความเห็นที่ 18
ชวนป้าใหม่ไปดิ คำเตือน..ระวังแห้ว