โพรงรังอันว่างเปล่า

งานมงคลสมรส อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
ห้วงยามที่บรรยากาศแห่งความสุขของเจ้าบ่าว เจ้าสาว กำลังดำเนินไปตามจังหวะบทเพลงจากวงดนตรีคณะใหญ่ บนท้องฟ้ากลับปรากฏเพียงจันทร์เสี้ยวอันพร่าเลือน...
เมฆฝนซึ่งตั้งเค้ามาแต่ไกลเริ่มเข้าปกคลุม ปกคลุมกระทั่งจันทร์เสี้ยวสิ้นแสงงาม...
พลันที่ฟ้าไร้ดาว สายลมหอบเอาละอองฝนไอชื้น กระเซ็นสายมาพอให้แขกเหรื่อสัมผัสถึงความชุ่มเย็น...
“เทือกเขาบูโดทาบทะมึนไกลมากมายความลับ กี่ดวงชีวิตที่มอดดับ สังเวยความเชื่อแยกดินแบ่งฟ้า...”

งูลายสาบคอแดง...เหล้าขวดเก่า เขย่ามารินใหม่

ตั้งแต่เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 การศึกษาสายวิวัฒนาการร่วมในการจัดหมวดหมู่และจำแนกสิ่งมีชีวิต หรือให้เข้าใจสะดวกขึ้นผมขอใช้ว่า ศึกษา DNA แล้วกันนะครับ ทำให้มีการพบสัตว์ชนิดใหม่ของโลกจากชนิดซ่อนเร้นและสัตว์ที่เคยถูกแยกชนิดแต่มีลักษณะทางรูปร่างหน้าตาไม่ต่างอย่างชัดเจนถูกให้เป็นชื่อพ้องกลับมามีสถานภาพเป็นชนิดเต็มขึ้นมามากมาย ซึ่งงูลายสาบคอแดงก็เช่นกัน

4 ปีสายด่วนงูเข้าบ้าน ข้อมูลที่ได้มา ตอนที่ 2 : งูที่สอบถามเข้ามาบ่อยที่สุด

เรื่อง : สายด่วนงูเข้าบ้าน
ภาพ : วรพจน์ บุญความดี

4 ปีสายด่วนงูเข้าบ้าน ข้อมูลที่ได้มา ตอนที่ 1 : ช่วงยอดฮิตของกะปะ

เรื่อง : ศิริวัฒน์ แดงศรี/วรพจน์ บุญความดี
ภาพ : วรพจน์ บุญความดี

ตรวจทาน : มนตรี สุมณฑา

ตุ๊กแกบ้าน (Tokay Gecko: Gekko gecko (Linneaus, 1758))

ตุ๊กแกบ้าน (Tokay Gecko: Gekko gecko (Linneaus, 1758))
 
เรื่อง/ภาพ...มนตรี  สุมณฑา
 

เราอยากได้ลำธารแบบนี้กันจริงๆเหรอ? (ณ ถ้ำปลา)

เราอยากได้ลำธารแบบนี้กันจริงๆเหรอ? (กรณีศึกษา ณ อุทยานแห่งชาติถ้ำปลา จ.แม่ฮ่องสอน)
เรื่อง/ภาพ: ดร.นณณ์ ผาณิตวงศ์

บทสรุปผู้ขี้เกียจอ่าน
- ลำธารถูกผันน้ำไปใช้จนแห้ง
- สร้างฝายกั้นลำธารจนระบบนิเวศพัง
- ปล่อยปลาต่างถิ่นโดยหน่วยงานราชการ
- ทำลายป่าริมน้ำ
- มีการขาย/ให้อาหารปลา(ถือเป็นสัตว์ป่าไหม?)
- ปลาพลวงพิการ คาดว่าเพราะการผสมกันในหมู่เครือญาติ
- ป้ายให้ความรู้ในห้องน้ำผิดพลาดหลายเรื่อง

Precautionary approach แนวทางหนึ่งในการบริหารจัดการเชิงนิเวศ

Precuationary Approach
"...where there are threats of serious or irreversible damage, lack of full scientific certainly shall not be used as a reason for postponing cost-effective measures to prevent environmental degradation" (UNCED, 1992)
The two ramifications of the precautionary approach, there for, are:

ตัวอย่าง ทากบก ในเมืองไทย

สืบเนื่องจากเรื่อง "หนอนตัวแบนนิวกินี" หลายวันมานี้ เราเลยได้ยินคำว่า “ทากบก” กันมาเยอะ เพราะมันเป็นอาหารหลักของหนอนตัวแบนนิวกินี

วันนี้จึงจะมาเอา "ทากบก" มานำเสนอ จะได้เห็นหน้าค่าตากันครับ 

ต่อไปนี้ เราจะรู้ว่า นี่คือ "ทากบก"
 
 
“ทากบก” เป็นสัตว์ในกลุ่ม “หอย” นะครับ พวกมันคือเป็นหอยที่อยู่บนบก “ไม่ใช่พวก หนอนตัวแบน”
 
* จุดสังเกตุที่ชัดเจน ก็คือ มันจะมี - หนวด - ยื่นออกมา อาจมี 1 คู่ หรือ 2 คู่ ก็แล้วแต่ชนิดของมัน
 

การจำแนกชนิดหนอนตัวแบนนิวกินีออกจากสัตว์ท้องถิ่นและสัตว์อื่นๆที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน

เขียน: ดร.นณณ์ ผาณิตวงศ์
ภาพ: เจ้าของภาพตามชื่อในไฟล์เลยครับ

หลังจากที่ได้รายงานการพบหนอนตัวแบนนิวกินีในประเทศไทยไป ก็มีภาพหนอนมาจากหลายๆท่านนะครับ ด้วยเกรงว่าสัตว์ท้องถิ่นที่มีหน้าตาคล้ายๆกันจะถูกกำจัดไปด้วยจึงเขียนอันนี้แยกออกมาต่างหากให้มีภาพเปรียบเทียบกับสัตว์ท้องถิ่นที่อาจจะสับสนกับเจ้าหนอนตัวแบนนิวกินีนะครับ เริ่มกันที่หนอนตัวแบนนิวกินีก่อน