จดหมายเปิดผนึก : เรียนกรมอุทยานแห่งชาติฯ และ อช.เขาใหญ่ กรณีจับจระเข้

15 พฤศจิกายน 2556

เรียน       อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ พันธุ์พืช และ หัวหน้าอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
เรื่อง        การจับจระเข้ ที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่

เขื่อน ในมุมมองความมั่นคงทางอาหาร

โดย ดร. นณณ์ ผาณิตวงศ์
                                         

Photo essay : ป่าแม่วงก์ (บริเวณที่จะมีการสร้างเขื่อน)

เรื่อง/ภาพ: ดร.นณณ์ ผาณิตวงศ์

เชื่อว่าหลายๆท่านยังไม่เคยเห็นป่าแม่วงก์ บริเวณที่จะมีการสร้างเขื่อน บางคนก็บอกเป็นป่าเสื่อมโทรม บางคนก็บอกมันสวยจะตาย ป่าเต็งรังก็เป็นแบบนี้แหล่ะ ต้นไม้จะไม่ได้หนาแน่นเหมือนป่าดงดิบ อีกคนบอกป่าตรงนี้เคยมีชาวบ้านอยู่ เคยถูกสัมประทานไม้มาก่อน เป็นป่าปลูกต้นเล็กๆ ก็ว่ากันไป

ประเทศไทยในวันที่การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมกลายเป็นเรื่องของ “นามธรรม”

โดย ดร.นณณ์ ผาณิตวงศ์

นามธรรม [นามมะทํา] น. สิ่งที่ไม่มีรูปคือ รู้ไม่ได้ทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย รู้ได้เฉพาะทางใจเท่านั้น (ราชบัณฑิตยสถาน)
 
อ่านบทความหนึ่ง แล้วเกิดสะท้อนใจว่าวันนี้ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมถูกทำให้กลายเป็นเรื่องนามธรรมไปเสียแล้ว กรณีเขื่อนแม่วงก์และอีกหลายๆโครงการที่ส่งกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กลายเป็นเครื่องวัดใจของคนในสังคมในหลายแง่มุมอย่างไม่น่าเชื่อ
 

วิธีจำแนกรอยตีนเสือกับหมา

โดย ดร.นณณ์ ผาณิตวงศ์
 
เนื่องจากมีข่าวเกี่ยวกับเสือต่างๆในหลายพื้นที่ในประเทศไทย โดยในข่าวต่างๆมักจะมีรอยเท้าประกอบโดยอ้างว่าเป็นรอยเท้าเสืออยู่ด้วย ซึ่งบางครั้งภาพที่ปรากฏวิเคราะห์ตามหลักวิชาการแล้วคิดว่าไม่น่าจะเป็นภาพรอยเท้าเสือ ข้าพเจ้าจึงเขียนบทความนี้ขึ้นเพื่อให้สามารถนำไปใช้จำแนกรอยเท้าของเสือและหมาต่อไป


 

ตอบดร.โสภณ (รอบที่สอง) กรณีที่ท่านย้ำว่าแม่วงก์ไม่มีเสือ

โดย: ดร.นณณ์ ผาณิตวงศ์

บทความอ้างอิง: AREA แถลง ฉบับที่ 137/2556: 8 ตุลาคม 2556 ย้ำไม่มีเสือในพื้นที่สร้างเขื่อนแม่วงก์
http://www.area.co.th/thai/area_announce/area_anpg.php?strquey=area_announcement577.htm
 
เรื่องป่าบริเวณนี้ไม่สำคัญ

ตอบ ดร.โสภณ กรณีบทความ การโกหกและบิดเบือนเพื่อต้านการสร้างเขื่อนแม่วงก์

โดย: ดร.นณณ์ ผาณิตวงศ์

Link: บทความ http://prachatai.com/journal/2013/10/49084

จากกรณีที่ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน ได้เขียนบทความลงในเว็บประชาไท โดยมีชื่อบทความและลิงค์ตามที่ได้อ้างถึงด้านบนนั้น ข้าพเจ้าในฐานะผู้เขียนบทความที่ท่านได้อ้างถึงสองบทความ คิดว่าจะเป็นการเสียมารยาทถ้าหากมีผู้ใหญ่มาตักเตือนแล้วไม่ออกมาไขข้อข้องใจให้ชัดเจน จึงเขียนบทความนี้เพื่อตอบท่าน โดยข้อแบ่งเป็นข้อ ๆ ดังนี้ครับ

สาละวินไม่มีวันลาก่อน

สวัสดีครับ

บทความสาละวินไม่มีวันลาก่อน ผมเขียนขึ้นเมื่อครั้งที่ได้ไปเยือนแม่น้ำสาละวินกับคณะสำรวจปลาของคุณกิตติพงศ์ จารุธานินทร์ เมื่อปีพ.ศ. 2554 จริงๆแล้วมีสองตอน แต่ตอนแรกไม่เกี่ยวกับตัวแม่น้ำสาละวินมากนัก จึงไม่ได้นำมาลง
ไฟล์: 

พื้นที่ปลูกป่า 36,000 ไร่ บอกชาวบ้านหรือยังครับ?

โดย: ดร. นณณ์ ผาณิตวงศ์

สิ่งหนึ่งที่ต้องทำความเข้าใจกับเศรษฐศาสตร์ของเขื่อนแม่วงก์คือ ลำพังมูลค่าของการช่วยเรื่องการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร และ การป้องกันน้ำท่วม นั้นไม่เพียงพอที่จะทำให้เงินลงทุนมูลค่า 13,500 ล้านบาทคุ้มค่าได้ ดังนั้นส่วนหนึ่งซึ่งเป็นโครงการพ่วงไปด้วย คือโครงการปลูกป่าเพิ่มอีก 36,000 ไร่ (ตัวเลขที่ใช้ใน EHIA) แล้วก็นำมูลค่าเพิ่มของไม้ ของของป่า และอื่นๆที่ป่าพึ่งจะให้มาคิดคำนวนเป็นผลประโยชน์ของโครงการนี้ด้วย ซึ่งหลังจากนับรายรับรายจ่ายเหล่านี้ไปแล้ว 60 ปีก็ทำให้โครงการนี้รอดพ้นการขาดทุนไปอย่างเฉียดฉิว (เรียกว่าเอาเงินไปฝากธนาคารเฉยๆยังได้มากกว่า)
 

แกะตัวเลขข่าวปริมาณน้ำเขื่อนแม่วงก์

โดย: ดร.นณณ์ ผาณิตวงศ์