14 ตัวเลขน่าสนใจ กรณี 12 เขื่อนแม่โขงตอนล่าง

เรียบเรียง: ดร.​ นณณ์​ ผาณิตวงศ์

ตัวเลขที่น่าสนใจบางส่วนจากรายงานผลกระทบของเขื่อนทั้ง 12 เขื่อนที่จะสร้างในเขตแม่น้ำโขงตอนล่าง จัดทำโดย International Centre for Environmental Management (ICME) (ศูนย์การจัดการสิ่งแวดล้อมนานาชาติ) ให้ Mekong River Commission Secretariat (MRCS) (คณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง)

12 เขื่อนที่จะก่อสร้าง มีทั้งที่อยู่ในแม่น้ำโขงที่ทั้งสองฝั่งเป็นประเทศลาว (8 เขื่อน) ที่ฝั่งหนึ่งเป็นลาวอีกฝั่งเป็นไทย (2 เขื่อน) และในประเทศเขมร (2 เขื่อน)

เขื่อนไซยะบุรี และอีก 11 พี่น้อง เมื่อคนไทยเห็นแก่ตัว?

เรื่อง: ดร.นณณ์ ผาณิตวงศ์

ผู้ใหญ่ท่านหนึ่งบ่นให้ผมฟังว่าท่านไม่เข้าใจว่าจะสร้างเขื่อนกั้นแม่น้ำโขงที่ลาวกับไทย เวียตนามกับเขมรมายุ่งอะไรด้วย จึงเป็นที่มาของบทความนี้ครับ

1. ทำไมประเทศเวียตนามถึงต้องห่วงว่าไทยและลาวจะสร้างเขื่อนกั้นแม่น้ำโขงตอนล่าง? 

งานรำลึก 22 ปี สืบ นาคะเสถียร

ณ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ สวนวชิรเบญทัศ (สวนรถไฟ)
วันเสาร์ที่ 15 และ อาทิตย์ที่ 16 กันยายน 2555

ข้อมูลเพิ่มเติมที่
http://www.seub.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=886:seubnews&catid=5:2009-10-07-10-58-20&Itemid=14

ตู้ไม้น้ำธรรมชาติ บึงน้ำเปรี้ยว : ท่าใหม่, จันทบุรี

บึงน้ำเปรี้ยว สถานที่แห่งหนึ่งในอำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี สถานที่แห่งนี้ได้รับการแนะนำจากพี่พูนศักดิ์ วัชรากร ผู้แต่งหนังสือ “ปาล์มและปรงในประเทศไทย” เหตุก็เพราะว่าตอนนั้นพวกเรากำลังตามหาปลาซิวหนู Boraras uropthalmoides

กู้บทความเก่า: ดงวี่ ห้วยมหัศจรรย์กลางป่ามรดกโลก เรื่อง/ภาพ: นณณ์ ผาณิตวงศ์ เมษายน 2547

ผมยืนกระโดดดึ๊งๆ อยู่บนหาดกรวดริมห้วยดงวี้ ด้วยความดีใจ เมื่อเห็นปลาน้อยใหญ่มากมายแหวกว่ายอยู่ในห้วยขนาดกลางสายนั้น หลังจากที่คณะทอดกฐินสามัคคีเดินทางกันบนรถออฟโรดมาได้เป็นวันที่ ๓ แล้ว ก่อนหน้านี้คณะของเรา ซึ่งประกอบไปด้วยคุณพ่อของผม เพื่อนคุณพ่อหลายท่าน และ รถท้องถิ่น รวมแล้ว ๗ คันได้เริ่มออกเดินทางจากอำเภอสังขละบุรีในจังหวัดกาญจนบุรี

กู้บทความเก่า: ลำน้ำกษัตริย์ ลำน้ำทรยศ เรื่อง by บันทึกของ อ. ชัยวุฒิ กรุดพันธ์ โครงการจัดตั้งภาควิชาประมง, คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และ ความทรงจำของ นณณ์ ผาณิตวงศ์ ภาพ/บรรยายภาพ/Abstract by นณณ์ ผาณิตวงศ์ มีนาคม 2546

Thung Yai – Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuary is stretching over more than 600,000 hectare along Thai – Myanmar border.  The sanctuary represents an outstanding and unique biome of mainland South East Asia, contains biophical features of outstanding natural beauty and of great scientific value.  The sanctuary is a habitat of a very diverse array of floras and faunas. 
The world heritage committee of UNESCO inscribed Thung Yai – Huai Kha Khang Wildlife Sanctuary on the World Heritage list in 1991. 

กู้บทความเก่า: แหล่งน้ำในเขตอำเภอ ทองผาภูมิ และ สังขละบุรี 2 โดย นณณ์ ผาณิตวงศ์ เมษายน 2545

วันหยุดยาวอีกแล้ว ช่วงนี้ช่างมีวันหยุดมากเหลือเกิน หลังจากอากาศอันร้อนแสนร้อนของเดือนเมษายน ในที่สุดเราก็หลุดพ้นจากเดือนที่ร้อนที่สุดของปีมาได้ ฝนก็เริ่มตกลงมาแล้ว เป็นสัญญาณบอกพวกผมว่าหน้าแล้งกำลังจะสิ้นสุดลง อีกไม่นานแม่น้ำลำธารทุกสายก็จะเต็มไปด้วยน้ำ และเศษดินตะกอนที่ชะลงมา น้ำจะขุ่น และไหลเชี่ยว ถ้าอยากจะไปสำรวจปลาตามแหล่งน้ำธรรมชาติก็ต้องรีบไปแล้วหละ เนื่องจากทริปทองผาภูมิ-สังขละบุรีทริปที่แล้วของเราเป็นการไปเช้ามืดกลับ ทำให้เราไม่มีเวลาสำรวจปลาได้ละเอียดนัก ยังมีปลาคาใจผมอยู

กู้บทความเก่า: แหล่งน้ำในเขตอำเภอ ทองผาภูมิ และ สังขละบุรี โดย นณณ์ ผาณิตวงศ์ เมษายน 2545

วันเสาร์ของเดือนเมษายนที่กำลังร้อนได้ที่

ปลาผีเสื้อติดหินน่าน (Hemimyzon nanensis)

คำว่า “nanensis” หมายถึงพบได้หรือมีที่ “จังหวัดน่าน” ดังนั้นเจ้าปลาทรงหยดน้ำเล็กๆ ชนิดนี้ที่ชื่อว่า Hemimyzon nanensis หรือปลาผีเสื้อติดหินน่านนั้นเราสามารถพบได้ที่น่านหรือต้นน้ำแม่น่านเท่านั้น

ปลาผีเสื้อติดหินอยู่ในวงศ์เดียวกันกับพวกปลา ค้อ(Balitoridae) ลักษณะจะคล้ายๆ กับจิ้งจกติดหินแต่ด้วยครีบอกและครับท้องมีขนาดใหญ่กว่ากลมกว่าจึงมีสัญฐาน มองแล้วคล้ายปีกของผีเสื้อ

ปฏิบัติการ “รูปนกฮูก” ไล่นกแบบเป็นมิตร

เรื่อง/ภาพ: บัลลังค์ ศิริพิพัฒน์

นอกจากหมาของบ้านอื่นที่ชอบมาขี้หน้าบ้านแล้วผมก็ยังมีปัญหาเกี่ยวกับสัตว์มาขี้ในบ้านอีก 2 ชนิดคือ นกเอี้ยงสาริกาที่ชอบมาขี้ไส่รถที่จอดไว้ในโรงจอด และสองนกอีแพรดแถบอกดำชอบมาจิกตีกระจกห้องนอนและกระจกรถยนต์ที่จอดไว้