พรุ่งนี้อาจจะสายไปที่จะอนุรักษ์ความหลายหลายทางชีวภาพ

บทความนี้ เขียนโดย ดร.นณณ์ ผาณิตวงศ์ เพื่อใช้พูดในงาน TEDxSilpakornU วันที่ 1 ตุลาคม 2560 

Press Release: ASEAN Biodiversity Heroes 2017

ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครอบคลุมพื้นที่ดินประมาณร้อยละ 3 ของโลกเท่านั้นแต่มีชนิดสัตว์และพืชอาศัยอยู่มากกว่าร้อยละ 18 มีพื้นที่ป่าชายเลนคิดเป็นร้อยละ 35 และแนวปะการังร้อยละ 30 ของโลก จึงไม่น่าแปลกใจที่ภูมิภาคนี้ถูกยกย่องให้เป็นบริเวณที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ในขณะเดียวกันเศรษฐกิจที่เติบโตอย่างรวดเร็วของภูมิภาคที่ต้องหล่อเลี้ยงประชากรกว่า 639 ล้านคนก็ส่งผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพเหล่านี้อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ทำไมน้ำโซดาถึงซ่า? ทำไมปล่อยน้ำออกมาจากเขื่อนเยอะๆแล้วปลาตาย?

เล่าโดย ดร.นณณ์ ผาณิตวงศ์ 

แล้วสองคำถามนี้มันเกี่ยวกันยังไง?

“พ่อครับน้ำแดง” ลูกชายยื่นกระป๋องน้ำแดงเย็นเจี๊ยบให้ผมหลังจากเดินกันมาร้อนๆ ผมเปิดกระป๋องด้วยความกระหาย และในวินาทีนั้นก็ต้องกระโดดหลบถอยหลังพร้อมกับยื่นมือออกไปข้างหน้า เพราะน้ำสีแดงที่พวยพุ่งออกมาจากกระป๋องที่เจ้าลูกชายตัวแสบเขย่าไว้ ในขณะที่เจ้าตัวหัวเราะชอบใจ ผมเตะตูดมันไปหนึ่งที ก่อนที่จะกินน้ำที่เหลืออยู่สักครึ่งกระป๋อง “ถ้าเล่นแบบนี้อีกเอ็งโดนหนักกว่านี้แน่ ผมสำทับ”

รายงานลงพื้นที่สร้างเขื่อนคลองวังหีบ จ.นครศรีธรรมราช

ในการศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม(EIA) ของโครงการใดๆนั้น ต้องประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก คือ
1.        ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
2.        ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
3.        คุณค่าต่อการใช้ประโยชน์ของมนุษย์
4.        คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต
 

จดหมายเหตุ ว่าด้วยแก่งในแม่น้ำโขง

ดร.นณณ์ ผาณิตวงศ์ 
 
แก่ง เกิดจากการผุกร่อนและกัดเซาะของชั้นหิน/ดินใต้แม่น้ำและริมตลิ่งไม่เท่ากัน หินส่วนที่แข็งน้อยกว่าเมื่อเจอน้ำและตะกอนกัดเซาะทุกวันก็จะผุกร่อนไป ส่วนหินที่แข็งกว่าก็จะคงรูปและค้างอยู่ในท้องน้ำ ยื่นโด่เด่กีดขวางการไหลของน้ำ เมื่อเกิดปรากฏการณ์แบบนี้เวลาน้ำไหลผ่านแก่ง น้ำจะเหลือพื้นที่น้อยลง เมื่อน้ำปริมาณเท่าเดิม พยายามที่จะแทรกตัวผ่านไปในพื้นที่ๆแคบลง น้ำจึงไหลเร็วขึ้นเกิดเป็นบริเวณที่น้ำไหลแรง การไหลชนหินทั้งใต้น้ำและที่โผล่พ้นน้ำขึ้นมา ทำให้น้ำแตกกระเซ็นกระสาย ที่เราเรียกว่า “แก่ง”

ฝายกระสอบพลาสติก...ควรมิควร?

ทำไมเราถึงไม่ควรใช้กระสอบพลาสติกในการสร้างฝาย?

 สรุปสำหรับคนไม่อยากอ่านยาวๆ
1.      กระสอบพลาสติกผุพังได้เร็วภายในเวลาไม่ถึงปีเมื่อถูกความร้อนและแสง UV ซึ่งกระสอบที่พุพังจะกลายเป็นขยะพลาสติกที่ตกค้างอยู่ในสิ่งแวดล้อม กลายเป็นหนึ่งในปัญหาที่ใหญ่มากของโลกในปัจจุบัน
2.      วัสดุที่นำมาใส่ในกระสอบก่อให้เกิดปัญหาแตกต่างกันไปตามแหล่งที่มา แต่ปัญหาหลักคือเมื่อกระสอบพังแล้ว วัสดุเหล่านั้นก็จะตกค้างอยู่ในแหล่งน้ำทำให้แหล่งน้ำตื้นเขิน และในวัสดุยังมีแนวโน้มสูงที่จะมีพืชต่างถิ่นติดมาด้วย

สร้างทางเลียบแม่น้ำ แล้วทำไมน้ำจะเน่า?

เขียน: ดร.นณณ์ ผาณิตวงศ์

คำถามที่ได้ยินแว่วมาตามสายลม
“สร้างทางเลียบแม่น้ำเจ้าพระยาแค่ติดฝั่งนิดเดียว จะทำให้แม่น้ำเน่าเสียได้อย่างไร ในเมื่อเหลือแม่น้ำอีกตั้งกว้าง?”

ขอเริ่มด้วยการอธิบายหลักการ

1. เรื่องความเร็วของน้ำ

NGO มีไว้ทำอะไรวะครับ?

เพจ เฮ้ย จริง ดิ ถามว่า...



ดร.นณณ์ ผาณิตวงศ์ ขอตอบในฐานะตัวแทนของ NGO 

พอดีมีคนแชร์ภาพนี้จาก เฟซบุ๊ค เฮ้ย จริง ดิ มาให้ อ่านแล้วก็คิดว่าเป็นโอกาสอันเหมาะสมที่จะตอบคำถามเหล่านี้เสียที ไม่รู้คนที่แชร์กันไปเป็นพันจะมาอ่านกันไหมนะ แต่ก็ขอตอบให้สบายใจตรงนี้แล้วกัน 

เรียนจากภาพ: ตัวอย่างฝายที่เข้าใจธรรมชาติจากประเทศญี่ปุ่น

เรื่อง/ภาพ: ดร.นณณ์ ผาณิตวงศ์

ไปเที่ยวญี่ปุ่นมาเมื่อต้นปีครับ ได้ไปเที่ยวเมืองๆนี้ซึ่งอยู่ไม่ห่างจากนาโงย่ามากนัก(จำชื่อเมืองไม่ได้เนื่องจากทำตัวเป็นลูกทัวร์และคนขับรถให้ภรรยานำครับ) เดินเล่นในเมืองที่มีลำธารสายค่อนข้างใหญ่สายหนึ่งไหลผ่าน เห็นเค้าสร้างฝายไว้หลายฝายเหมือนกัน ยืนดูแล้วก็เห็นว่าสามารถเรียนรู้จากฝายที่เค้าสร้างได้หลายอย่างจึงนำมาขยายความให้ลองอ่านกันดูครับผม