บทสัมภาษณ์ นณณ์ ผาณิตวงศ์ กับ แทนไท ประเสริฐกุล โดย พิเชฐ นุ่นโต ตีพิมพ์ในวารสารของ ม.ขอนแก่น
ปลาดื่มน้ำหรือเปล่า??
น้ำเป็นสสารที่มีความสำคัญที่สุดของทุกชีวิต ร่างการของมนุษย์อย่างเราประกอบไปด้วยน้ำถึงร้อยละ ๗๐ และสัดส่วนนี้ก็ใช้ได้กับสัตว์มีกระดูกสันหลังเกือบทุกชนิดในอัตราที่ไม่หนีกันมากนัก คนอย่างเราที่เป็นสัตว์เลือดอุ่นอาศัยอยู่บนบก สูญเสียน้ำจากร่างกายได้หลายทาง ทั้งจากการระเหยออกจากร่างกายผ่านทางเหงื่อ และการขับถ่าย ซึ่งเราก็ทดแทนน้ำที่สูญเสียไปด้วยการดื่มน้ำ แล้วคุณเคยสงสัยไหม ว่าปลาที่อาศัยอยู่ในน้ำดื่มน้ำหรือเปล่า?
คำตอบคือ แล้วแต่ว่าคุณถามถึงปลาอะไร ปลาน้ำจืด หรือ ปลาน้ำเค็ม?
เรื่อง: อุเทน ภุมรินทร์, ภาพ: กิตติพนธ์ บูรณสมภพ
ถ้าพูดถึง“เสือ”คุณนึกถึงอะไร ?
รายงานการค้นพบจระเข้น้ำจืดสายพันธุ์ไทย ในเขตอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง จังหวัดพิษณุโลก 8 เมษายน 2550
จระเข้น้ำจืดไทย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Crocodylus siamensis ชื่อสกุล Crocodylus นั้นเป็นภาษากรีกแปลได้ความว่า สัตว์ที่มีผิวหนังตะปุ่มตะป่ำ ส่วนชื่อวิทยาศาสตร์ siamensis นั้นเกิดจากคำสองคำ คำแรกคือ Siam ชื่อเดิมของประเทศไทย และคำที่สองเป็นภาษาลาติน ensis แปลว่า “Belonging to หรือ ซึ่งเป็นของ”รวมกันแล้ว จึงแปลว่าจระเข้ซึ่งเป็นของประเทศไทย
วารสารดีๆที่อยากให้ได้อ่านกันครับ (อยากให้ทำต่อด้วยนะครับ)
โดย อ. ชัยวุฒิ กรุดพันธ์ และทีม siamensis.org ปรับปรุงเมื่อ คศ.2005
โดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดพิษณุโลก
สำนักงานวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด
กรมประมง
ชื่อไทย: ใบไม้สีทอง, ย่านดาโอ๊ะ
ชื่อพฤกษศาสตร์: Bauhinia aureifolia K. & S.S. Larsen
วงศ์ : LEGUMINOSAE
การกระจายพันธุ์ : ในธรรมชาติพบเฉพาะในเขตจังหวัดปัตตานีนราธิวาสและยะลาขึ้นตามที่โล่งริมลำธารในป่าดิบชื้นอุทยานแห่งชาติน้ำตกบาโจและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลาระดับความสูง๕๐-๒๐๐เมตร
สัมมนาวิชาการสั้นๆ ที่ม.มหิดล
รายงานผลกระทบของฝายต่อระบบนิเวศน์ลำธารจากห้วยทรายเหลือง อช.ดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่