พอดีผมได้เอกสารเกี่ยวกับการจับลูกปลาอโรวาน่าเงินที่ประเทศเปรูมา อ่านแล้วได้ข้อคิดน่าสนใจเชื่อมโยงกับเรื่อง “หายนะของทรัพย์สินรวม
เรื่อง: อุเทน ภุมรินทร์, ภาพ: อัครวัช สมไกรสีห์
รางวัลเป็น หนังสือ รวมผลงานของ ดร. จารุจินต์ นภีตะภัฏ จัดพิมพ์โดย อวพช.
ติดตามได้ที่กระทู้นี้ http://www.siamensis.org/webboard/topic/375
เรียบเรียงโดย อุเทน ภุมรินทร์ โครงการวิจัยเพื่อการฟื้นฟูป่า เครือข่ายอนุรักษ์ช้าง: กาญจนบุรี
ในปัจจุบันธุรกิจการขายสัตว์เลี้ยงในบ้านเราได้มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเพื่อเข้ามาตอบสนองความต้องการผู้ที่นิยมเลี้ยงและมีสัตว์อีกจำพวกที่ได้เข้ามามีบทบาทในธุรกิจนี้คือสัตว์แปลกๆ ที่พบได้ทั้งภายในประเทศและต่างแดน ที่เรามักเรียกสัตว์หรือแมลงเหล่านี้ว่าสัตว์แปลกๆ อาจเป็นไปด้วยลักษณะทางสีสันหรือรูปร่างที่ดูแปลกตาออกไปจากที่เราเห็นกันทั่วไป และยังรวมไปถึงคนทั่วไปที่ไม่นิยมเลี้ยงเพราะสัตว์บางชนิดมีพิษร้ายแรงอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ แล้วทางเลือกทางหนึ่งที่เราสามารถพบการค้าส
เวลาที่เดินออกไปถ่ายรูปในวันที่แดดจ้าแล้วพบเจ้าแมลงปอที่เกาะอยู่บนกิ่งไม้ยกก้นชี้ไปที่ดวงอาทิตย์ คุณเคยสงสัยไหมว่ามันทำเช่นนั้นทำไม?
ขอให้มวลหมู่ไม้ยังคงแต่งแต้มสีสันแก่โลกใบนี้ตราบเท่านาน
สำรวจและจัดทำโดย: ศิริชัย รักซื่อ
ภาพถ่ายโดย: ศุทภธี ศรีทองดี, ศิริชัย รักซื่อ
เรื่อง: อุเทน ภุมรินทร์, ภาพ: กุลพัฒน์ ศรลัมภ์
“ช้างป่าสลักพระโดนไฟฟ้าช็อตตาย ในไร่ของชาวบ้าน”
เรื่อง:นายอุเทน ภุมรินทร์,ภาพ:พงษ์พิทักษ์ ศรีบัณฑิต
“เคยเหนื่อยปานจะขาดใจตายไหม?”
เรื่อง:นายอุเทน ภุมรินทร์,ภาพ:อัครวัช สมไกรสีห์
ปลายเดือนมีนาคม ฝูงนกนางนวลธรรมดาเต็มน่านน้ำท้องทะเลบางปู บ้างลอยตัวอยู่บนผืนน้ำ บ้างบินโฉบไปมาคอยรับกากหมูจากนักท่องเที่ยวที่มาให้อาหารบนสะพานสุขตา ในเวลานี้ นกนางนวลที่เราเห็นโดยปกติ สีตัวเป็นโทนขาวสะอาด เริ่มเปลี่ยนสีขนตรงส่วนหัวและบริเวณใบหน้า เป็นสีน้ำตาลเข้ม ราวกับหัวของมันถูกคลุมไว้ด้วยถุงสีน้ำตาล หน้าตาของนกนางนวลธรรมดาช่วงเวลานี้ ทำให้เราอ่านชื่อสามัญของมันที่ว่า Brown-headed Gull ซึ่งหมายถึง นกนางนวลที่มีหัวสีน้ำตาล แล้วเห็นภาพได้ชัดเจนขึ้น